18. 4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับ DNA(ต่อ) 18. 4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. กำหนดให้จุด F เป็นจุดโฟกัสของรูปพาราโบรา ( Focus of parabora) 2. หาจุด B โดยระยะ EB = 0.30 EG จุดเรียกว่า “Corrected entrance point” ลากเส้น BF 3. ใช้จุด.
Advertisements

การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
โครโมโซม.
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
วิทยาศาสตร์พันธุกรรม ดีเอ็นเอ และ จีเอ็มโอ (Molecular Biotechnology)
(quantitative genetics)
แบบทดสอบ ธาลัสซีเมีย : การแปลผลตรวจ และวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
Single nucleotide polymorphism(S) or
ง30216 การสร้างเกมคอมพิวเตอร์
DNA สำคัญอย่างไร.
วิชา คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 4 การใช้ตัวดำเนินการ
การวิเคราะห์ DNA.
บทที่ 10 การทำงานกับ ข้อความ (string). สตริงในภาษา PHP ASCII (American Standard Code for Information Interchange) จำนวน 8 บิต เก็บได้ 256 ตัว Unicode.
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
Capillary Zone Electrophoresis (CZE)
เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Nucleic Acid Chemistry & Structure
การบริหารงบประมาณ. รายงานผลการใช้จ่ายเงิน จัดทำแผนการใช้จ่ายเงิน จัดทำคำของบประมาณ.
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
การพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้าง
Department of Biochemistry, Faculty of Science, Mahidol University
โปรแกรม ภาษา C ภาษาซี (C Language) เป็นภาษาหนึ่งสำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์   พัฒนาขึ้นโดยนายเดนนิส  ริทชี่ (Dennis Ritche)  ในปี ค.ศ. 1972  เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
นพ.มงคล ลือสกลกิจ รพศ.เจ้าพระยายมราช
การให้คำปรึกษาแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส
Ohmmeter.
ความผิดอื่นๆเกี่ยวกับเงินตราปลอม เงินตราแปลง
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทาง DNA ในเชิงการเกษตร
โรคที่เป็นปัญหา ของพื้นที่
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค
กลุ่มพัฒนาระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
ประเภทของงานเขียน.
บทที่ 17 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA
ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่
สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
การโคลนและศึกษาคุณสมบัติของยีน OsDFR ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์แอนโทไซยานินและโปรแอนโทไซยานิดินในข้าวไทย นางสาวกนกภรณ์ คำโมนะ.
ผู้ช่วยสอน : นางสาวอมรรัตน์ ตันบุญจิตต์
ว33241 ชีววิทยา 4 บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ความปลอดภัยจากไฟฟ้าและเครื่องจักร
กระทรวงยุติธรรม   รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ  แนวทางการปฏิรูปประเทศ
การตรวจสอบพันธุ์ปนในข้าว ด้วยการวิเคราะห์ดีเอ็นเอ
การจัดทำรายละเอียดและ การประเมินรายวิชา (มคอ. ๓ และ มคอ. ๕)
กระทรวงยุติธรรม  แนวทางการปฏิรูปประเทศ  การปรองดองสมานฉันท์
ชั่วโมงที่ 39 กรดนิวคลิอิก
คู่มือการเขียนวิจัย R2R ฉบับย่อสำหรับนักวิจัยหน้าใหม่
การบริหารพัสดุ ของหน่วยงานภาครัฐ นำเสนอโดย นายอธิวัฒน์ โยอาศรี
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
แนวทางปฏิบัติ กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี ด้อยสิทธิ์/ต่างด้าว
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
การโคลนยีน หรือ การโคลน DNA (Gene cloning and DNA cloning)
การจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ รายละเอียดงบประมาณจำแนกตามงบรายจ่าย
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยีทาง DNA
การตรวจเลือดเพื่อวินิจฉัยโรคมาลาเรีย
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ทาง DNA ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์
โครงการกำจัดโรคหัด.
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
ยีนและโครโมโซม นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
กิจกรรมที่ 8 เริ่มต้นกับ Scratch.
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
กิจกรรมที่ 9 การสร้างตัวแปร ใน Scratch.
วัฏจักรสารในระบบนิเวศ
การแจ้งจัดสรรงบประมาณประจำปี ๒๕๖๒ โครงการส่งเสริมการอ่านตามรอยพระจริยวัตรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามหนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว ๑๑๐๖.
รายงานความก้าวหน้าคณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร (Chiang Mai Provincial Resource Supportive Board) 31 สิงหาคม 2560.
กรณีศึกษา โรงพยาบาลบางปะหัน.
การหารือและให้ข้อเสนอแนะ เรื่องระบบการสื่อสาร กรมควบคุมโรค
Day off Afternoon off (shopping) Mon Tues Wed Thur Fri Sat Sun 30/3
วัฏจักรของเซลล์ และการแบ่งเซลล์ นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

18. 4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับ DNA(ต่อ) 18. 4

จัดทำโดย กลุ่มที่ 5 เสนอ อาจารย์มารศรี ทองเนตร จัดทำโดย กลุ่มที่ 5 เสนอ อาจารย์มารศรี ทองเนตร

คดีฆาตกรรมเจนจิรา

คดีหมอผัสพร

-ลายพิมพ์ DNA สามารถนำไปใช้เป็นหลักฐานทางศาลเพื่อตัดสินคดีความได้ เพราะเหตุใด????

DNAเป็นสารพันธุกรรม ซึ่งDNAของคนๆเดียวกันไม่ว่าจะมาจากเซลล์ส่วนใดของร่างกายจะมีรูปแบบที่เหมือนกัน ดังนั้น DNA จึงเป็นเหมือนสิ่งบอกให้รู้ว่าคนๆนั้นเป็นใคร และแตกต่างจากคนอื่นๆอย่างไร

โดยทั่วไปแล้วการที่จะบอกได้ว่าคนๆนั้นเป็นใคร จะพิจารณาจากรูปร่างหน้าตา วัน เดือน ปีเกิด ตามข้อมูลในบัตรประชาชน หรือหนังสือเดินทาง และถ้าจะให้ชัดเจนยิ่งขึ้นอาจดูจากรอยแผลเป็น และลายพิมพ์นิ้วมือ

ลายพิมพ์ DNA สร้างมาจากDNAที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อและแม่อย่างละครึ่ง และเปลี่ยนแปลงไม่ได้ จึงมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะบุคคล ซึ่งทำให้สามารถบอกความแตกต่างของบุคคลได้ ความแตกต่างที่มีความจำเพาะของแต่ละบุคคลนี้เอง เราจึงนำมาใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน เช่น การพิสูจน์ตัวบุคคล การพิสูจน์ความสัมพันธ์ทางสายเลือด

ลายพิมพ์ DNA (DNA fingerprint) เฉพาะโอกาสที่คนสิงคน (ที่ไม่ใช่ฝาแฝดแท้)จะมีรูปแบบของลายพิมพ์ดีเอ็นเอเหมือนกันมีน้อยมาก ได้มีการใช้ DNA เพื่อตรวจพิสูจน์ความเกี่ยวพันในคดีอาญาที่รุนแรง

เช่น ฆาตกรรม ทำร้ายร่างกาย ซึ่งสามารถใช้เป็นหลักฐานสำคัญอย่างหนึ่งประกอบการพิจารณาคดีทางศาล ตัวอย่าง เช่น ในคดีฆาตกรรมคดีหนึ่ง ได้นำคราบเลือดของฆาตกรที่พบในสถานที่เกิดเหตุและเลือดของผู้ต้องสงสัยจำนวน 7 คน มาทำลายพิมพ์ DNA และนำมาเปรียบเทียบกัน เมื่อนำลายพิมพ์ DNA ของผู้ต้องสงสัยมาเปรียบกับลายพิมพ์ DNA ของคราบเลือดฆาตกร พบว่าเป็นดังนี้

1 2 3 A 4 5 6 7

การตรวจรายพิมพ์ดีเอ็นเอถูกค้นพบโดย ศาสตราจารย์ ดร การตรวจรายพิมพ์ดีเอ็นเอถูกค้นพบโดย ศาสตราจารย์ ดร. อเล็ก เจฟฟรีย์ (Alec Jeffreys) และคณะจากมหาวิทยาลัยไลเบสเตอร์ (Leicester) ประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2528

การพิสูจน์ พ่อ แม่ ลูก โดยใช้ลายพิมพ์ ดีเอ็นเอ             ดีเอ็นเอ คือ สารพันธุกรรมที่ลูกได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อครึ่งหนึ่งและแม่ครึ่งหนึ่งความสัมพันธ์ทางสายเลือดของการเป็น พ่อ-แม่ ลูกกัน จึงสามารถใช้พิสูจน์ได้ โดยการเปรียบเทียบลายพิมพ์ ดีเอ็นเอ ส่วนที่ไม่ใช่ยีนของลูกกับของพ่อแม่ เป็นจำนวนหลายตำแหน่ง (Loci)

            ลายพิมพ์ดีเอ็นเอมีความแตกต่างกันคือมีความหลากหลายมาก (Polymorphism) การศึกษาความหลากหลายนี้ จากตัวอย่างที่เก็บมาได้ เช่นตัวอย่างเลือด เส้นผม หรือเส้นขน หรือน้ำเชื้ออสุจิ เมื่อนำมาสกัดเชื้อดีเอ็นเอแล้ว แม้จะมีจำนวนน้อย ก็สามารถนำมาเพิ่มจำนวน โดยทำปฏิกิริยาเพิ่มปริมาณ ดีเอ็นเอตรงบริเวณที่มีท่อนของดีเอ็นเอซ้ำ ๆ กันประมาณ 2-7 เบส ที่มีอยู่หลายชุด เรียกบริเวณนี้ว่า “STR” ย่อมาจาก Short Tandem-Repeat (STR)

STR ซึ่งมีอยู่หลายที่ หลายตำแหน่ง (ตำแน่ง = locus) บนสายดีเอ็นเอ ถูกนำใช้เป็นเครื่องหมายพันธุกรรม และนำมาศึกษาลักษณะของจำนวนการซ้ำ ของท่อนดีเอ็นเอแต่ละชุด ในแต่ละตำแหน่งบนสายดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตแต่ละตัวได้ และสามารถ บ่งบอกถึงข้อมูลพันธุกรรมเฉพาะของแต่ละบุคคลได้เพราะสิ่งมีชีวิต มีลายพิมพ์ดีเอ็นเอแตกต่างกัน (ยกเว้นกรณีฝาแฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวกัน)

ปัจจุบัน การตรวจลายพิมพ์ DNA จะใช้เทคนิค PCR เนื่องจากเป็นวิธีที่ง่าย รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่าย และใช้ตัวอย่างเลือดปริมาณน้อย

เทคนิค PCR กับการพิสูจน์บุคคล

ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ ที่ได้จากการสร้างโดยใช้เทคนิค PCR จะมีลักษณะเป็นแถบ ดีเอ็นเอ เพียง 1-2 แถบต่อการสร้าง 1 โลกัส (ดังภาพแสดงลายพิมพ์ดีเอ็นเอ)

ภาพแสดงลายพิมพ์ดีเอ็นเอ

ดังนั้นถ้าทำการสร้างโดยใช้ 10 โลกัส ก็จะได้แถบดีเอ็นเอ ประมาณ 10-20 แถบ ซึ่งให้ค่าความถูกต้องแม่นยำมากขึ้น เชื่อมั่นว่าโอกาสที่จะพบบุคคล 2 คน ที่มีลักษณะลายพิมพ์ดีเอ็นเอที่เหมือนกันทุกประการนั้น มีเพียง 1 ใน 430,000,000 คน เพราะฉะนั้นการนำเทคนิค PCR มาใช้ในการสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอ จึงเป็นการพัฒนาที่ได้ผลเป็นอย่างยิ่ง

กิจกรรมที่ 18. 2 วิเคราะห์ลายพิมพ์ DNA 1 กิจกรรมที่ 18.2 วิเคราะห์ลายพิมพ์ DNA 1.สามีภรรยาคู่หนึ่งมีบุตร 4 คนในจำนวนนี้มี ลูกสาว 2 คน และลูกชาย 2 คนจงวิเคราะห์ ลายพิมพ์ DNA ของทุกคน แล้วให้เหตุผลว่าลูกคนใดเป็นลูกแท้จริง คนใดเป็นลูกติดพ่อและคนใดเป็นบุตรบุญธรรม

ลูกติดพ่อ บุตรบุญธรรม ลูกแท้จริง ลูกแท้จริง

2. จากการตรวจลายพิมพ์ DNA ของคนในครอบครัว ก และ ข นักเรียนบอกได้หรือไม่ว่าในครอบครัวใด มีความสัมพันธ์กันในลักษณะของ พ่อ-แม่-ลูก และครอบครัวใดไม่มีความสัมพันธ์กันเพราะเหตุใด

ครอบครัว ข ไม่มีความสัมพันธ์ ในลักษณะ พ่อ-แม่ -ลูก เพราะรูปแบบ ของแถบ DNA ของลูกมีบางส่วนที่ คล้ายแม่ แต่ไม่มี ส่วนที่เหมือนพ่อ อาจเป็นลูกติดแม่ ครอบครัว ก มีความสัมพันธ์ใน ลักษณะ พ่อ-แม่ -ลูก เพราะรูปแบบ ของแถบ DNA ของลูก เหมือนกับ พ่อและแม่ โดย มีบางส่วนที่ เหมือนกับพ่อ และบางส่วนที่ เหมือนกับแม่

3. ถ้านักเรียนได้รับเลือกเป็นคณะลูกขุนโดยมี ลายพิมพ์ DNA จากหลักฐานที่พบในที่เกิดเหตุในคดีฆาตกรรม และลายพิมพ์ DNA ของ ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 1-5 จงหาว่า

3.1 บุคคลหมายเลข 4 ถูกกล่าวหาว่าเป็นฆาตกร นักเรียนจะตัดสินใจว่าเขาเป็นฆาตกร หรือ เป็นผู้บริสุทธิ์ เพราะเหตุใด

ผู้บริสุทธิ์

3.2 ผู้ต้องสงสัยหมายเลขใดที่มีลายพิมพ์ DNA ใกล้เคียงกับหลักฐานที่พบในที่เกิดเหตุ ตอบ หมายเลข 5