บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Lecture 8.
Advertisements

บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
การผลิตและต้นทุนการผลิต
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
บทที่ 8 ราคา หัวข้อเนื้อหา 1. ความหมายของราคา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากรและการบัญชีเกี่ยวกับภาษี
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
GDP GNP PPP.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
เงินเฟ้อ Inflation.
Material requirements planning (MRP) systems
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การค้าระหว่างประเทศ International Trade
การบริหารโครงการ Project Management
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
การจัดพลังงานโดยการควบคุมพลังไฟฟ้า
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 4 ต้นทุนของเงินทุน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
3 M + E M = Material M = Machine M = Man power E =Energy.
บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5) บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5) ต้นทุนการผลิต (บทที่ 6) รายรับจากการผลิต (บทที่ 6)

การผลิต (Production) การผลิต : กระบวนการหรือกิจกรรมใดๆ ที่เปลี่ยนแปลงหรือแปรรูปปัจจัยการผลิตให้เป็นสินค้าและบริการ สินค้าและบริการที่ผลิตได้ถือเป็นเศรษฐทรัพย์ เป้าหมายของผู้ผลิต คือ กำไรสูงสุด (Maximize Profit)

ประสิทธิภาพในการผลิต ประสิทธิภาพทางเทคนิค (Technical Efficiency) : วิธีการผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด โดยให้ผลผลิตเท่ากับวิธีอื่น ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Efficiency) : วิธีการผลิตที่เสียต้นทุนต่ำสุด โดยให้ผลผลิตเท่ากัน เป็นการนำราคา ปัจจัยการผลิตมาพิจารณาด้วย

การผลิตแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะสั้น (Short Run) : ช่วงเวลาที่จะต้องมีปัจจัยคงที่อย่างน้อยหนึ่งปัจจัย ดังนั้นการที่จะผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในระยะสั้นทำได้โดยการเพิ่มปัจจัยแปรผัน ระยะยาว (Long Run) : ช่วงระยะเวลาที่ไม่มีปัจจัยใดคงที่ ปัจจัยการผลิตทุกชนิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้

การวิเคราะห์การผลิตในระยะสั้น ปัจจัยการผลิตในระยะสั้น ปัจจัยคงที่ (eg. land, capital) ปัจจัยแปรผัน (eg. labor, raw material) ฟังก์ชั่นการผลิต การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตต่างๆ และจำนวนผลผลิต เมื่อกำหนดเทคนิคการผลิตให้ Total Product (TP) = f (a1, a2, a3) = f (ปัจจัยคงที่, ปัจจัยแปรผัน)

ความหมายและความสัมพันธ์ระหว่าง ผลผลิตแบบต่างๆ ผลผลิตรวม (Total Product : TP) : ผลผลิตทั้งหมดที่ผู้ผลิตได้รับ จากการใช้ปัจจัยการผลิตแบบแปรผันร่วมกับปัจจัยคงที่ ผลผลิตเพิ่ม (Marginal Produc : MP) : จำนวนผลผลิตที่เพิ่มขึ้น เมื่อใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MP = TP / L, MPn = TPn – TPn-1 ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product :) : ผลผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยปัจจัยแปรผัน AP = TP / L

ความสัมพันธ์ระหว่าง TP , MP และ AP

ความสัมพันธ์ระหว่าง TP , MP และ AP (continued) TP & MP : Max TP, MP = 0 AP & MP : AP increase, when MP > AP AP decrease, when MP < AP

กฏการลดน้อยถอยลงของผลผลิตเพิ่ม (Law of Diminishing Marginal Physical Returns) ถ้ามีปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งคงที่แล้ว การเพิ่มปัจจัยแปรผันขึ้นเรื่อย จะก่อให้เกิดการลดน้อยถอยลงของผลผลิตหน่วยสุดท้ายในที่สุด และผลผลิตหน่วยสุดท้ายอาจจะลดลงเท่ากับศูนย์หรือต่ำกว่าศูนย์ก็ได้

การแบ่งช่วงของการผลิต (Stage of Production)

ทฤษฎีการผลิตระยะยาว การวิเคราะห์การผลิตระยะยาว ทำได้โดยใช้เครื่องมือ การวิเคราะห์การผลิตระยะยาว ทำได้โดยใช้เครื่องมือ - เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Line) - เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Line) กฏผลได้ต่อขนาด (Law of return to scale) การประหยัดและไม่ประหยัดเนื่องจากขนาด (Economies of scale and Diseconomies of scale)

เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Line) เส้นที่แสดงการใช้ปัจจัยการผลิต 2 ชนิดในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ซึ่งให้ผลผลิตเท่ากัน

อัตราการใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน (Marginal Rate of Technical Substitution : MRTS) จำนวนปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งที่ลดลงโดยที่ปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น 1 หน่วย เพื่อให้ได้ผลผลิตจำนวนเท่าเดิม MRTSLK = - K / L : slope of IQ การใช้ปัจจัยการผลิต L เพิ่มขึ้น โดยลดปัจจัยการผลิต K ลง MRTSKL = - L / K การใช้ปัจจัยการผลิต K เพิ่มขึ้น โดยลดปัจจัยการผลิต L ลง

กฎการลดน้อยถอยลงของอัตราการใช้ ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน ค่า MRTS ของปัจจัยการผลิต 2 ชนิดจะลดลงเรื่อยๆ เมื่อใช้ปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น และปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งลดลง

เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Line) เส้นที่แสดงส่วนผสมของปัจจัยการผลิต 2 ชนิดที่แตกต่างกันที่สามารถซื้อได้ด้วยเงินทุนจำนวนเดียวกัน ปัจจัย K เส้นต้นทุนเท่ากัน slope = - PL / PK 10 4 5 12 ปัจจัย L

การเปลี่ยนแปลงของเส้นต้นทุนเท่ากัน เส้นต้นทุนเท่ากันเปลี่ยนแปลงได้ 2 กรณี คือ ราคาปัจจัยการผลิตเปลี่ยน รูป ก งบประมาณการผลิตเปลี่ยน รูป ข ปัจจัย K ปัจจัย K ปัจจัย L รูป ก ปัจจัย L รูป ข

การใช้ส่วนผสมของปัจจัยการผลิตที่เหมาะสม เงื่อนไขการผลิตที่เหมาะสมกำหนดจากจุดที่เส้นผลผลิตเท่ากันสัมผัสกับเส้นต้นทุนเท่ากัน โดย ณ จุดสัมผัส ค่าความชันของเส้น Isoquant และเส้น Isocost จะมีค่าเท่ากัน ดุลยภาพการผลิต ปัจจัย K ปัจจัย L ที่จุด E ค่าความชันของ Isocost = ค่าความชัน Isoquant = - PL / PK L1 K1 E

เส้นแนวทางขยายการผลิต (The Expansion Path) เส้นที่แสดงส่วนผสมของปัจจัยการผลิตที่เสียต้นทุนต่ำสุด

กฎว่าด้วยผลได้ต่อขนาด (Law of Return to Scale) Increasing Return to Scale : ผลได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้นเนื่องจากการประหยัดเนื่องจากขนาด (Economies of Scale) : division of labor, specialization, internal/external economies Constant Return to Scale : ผลได้ต่อขนาดคงที่ Decreasing Return to Scale : ผลได้ต่อขนาดลดลง เนื่องจากการไม่ประหยัด (Diseconomies of scale) :internal/ external diseconomies