บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Advertisements

พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
เงินเฟ้อ Inflation.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
การทำ Normalization 14/11/61.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ความเค้นและความเครียด
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
World Time อาจารย์สอง Satit UP
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
การวางแผนกำลังการผลิต
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior) รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ J.chontanawat@gmail.com

ทฤษฎีอธิบายพฤติกรรมผู้บริโภค ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory) เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคสามารถวัดได้ ถือเป็น Cardinal Theory ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) เป็นทฤษฎีที่ถือว่าความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดได้ จะบอกได้เพียงว่ามีความพอใจมากกว่าหรือน้อยกว่า ถือเป็น Ordinary Theory

ทฤษฎีอรรถประโยชน์ อรรถประโยชน์ (Utility) : ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการอุปโภคบริโภคสินค้าและบริการ ความพอใจที่ได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการสามารถวัดเป็นหน่วย ได้เรียกว่า util เศรษฐทรัพย์ (Economic goods) ทุกชนิดย่อมมีอรรถประโยชน์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการในสินค้า สินค้าชนิดเดียวกันจำนวนเท่ากันอาจให้ประโยชน์ต่างกันได้ กรณีเวลาต่างกัน หรือผู้บริโภคต่างกัน

ความหมายของอรรถประโยชน์เพิ่ม(MU) และอรรถประโยชน์รวม (TU) อรรถประโยชน์เพิ่ม (Marginal Utility :MU) ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับเพิ่มขึ้นจากการบริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย อรรถประโยชน์รวม(Total Utility : TU) ผลรวมของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (MU) ที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้า ตั้งแต่หน่วยแรกจนถึงหน่วยที่กำลังพิจารณา TU = MUi MUn = TUn – TUn-1 N i=1

ความสัมพันธ์ระหว่าง TU และ MU

Relationship between Total and Marginal Utility (continued) MU > 0 , TU MU = 0 , max TU MU < 0 , TU กฏการลดน้อยลงอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าหรือบริการเพิ่มขึ้นๆที่ละหน่วยอรรถประโยชน์ ส่วนเพิ่มของสินค้าและบริการหน่วยที่เพิ่มนั้นจะลดลงตามลำดับ

ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) เป็นการพิจารณาว่าผู้บริโภคจะใช้จ่ายเงินรายได้ที่มีอยู่จำกัดในการซื้อสินค้าและบริการชนิดต่างๆ อย่างไร จึงจะได้รับความพอใจสูงสุด (Maximize Utility)

ดุลยภาพผู้บริโภค กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด และสินค้าทุกชนิดมีราคาเท่ากัน max TU เมื่อ MUa = MUb = ………= 0 กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้จำกัดและสินค้าทุกชนิดราคาเท่ากัน max TU เมื่อ MUa = MUb = ……… = MUn = k กรณีที่ผู้บริโภคมีรายได้จำกัดและสินค้าทุกชนิดราคาไม่เท่ากัน max TU เมื่อ MUa/Pa = MUb/Pb = ……… = MUn / Pn = k

เงื่อนไขการบริโภคที่เหมาะสมที่สุดภายใต้รายได้จำกัด MU , TU Mub Mua Q2 Q1 Q3 Q2 Q1 Q3 สัดส่วนการบริโภคสินค้า a จำนวน Q1 หน่วย และ b จำนวน Q1 หน่วย ดีที่สุด เงื่อนไขนี้คือ Mua = Mub

ข้อโต้แย้งทฤษฎีอรรถประโยชน์ ในการซื้อสินค้าและบริการผู้บริโภคไม่ได้สนใจถึง MU ของสินค้าแต่ละชนิด ทำให้ไม่เกิดดุลยภาพ ผู้บริโภคมักซื้อสินค้าตามความเคยชิน ไม่ได้คำนึงถึง MU ความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดเป็นหน่วยได้

ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) เส้นความพอใจเท่ากัน (เส้นIC ) คือ เส้นที่แสดงสัดส่วนของสินค้าสองชนิดที่แตกต่างกันแต่ให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคเท่ากัน

แผนภาพเส้นความพอใจเท่ากัน เส้น IC ของผู้บริโภคคนหนึ่งๆ มีได้หลายเส้นเพราะความพอใจของผู้บริโภคมีหลายระดับ โดยเส้นที่อยู่เหนือกว่าย่อมให้ความพอใจมากกว่า IC3 > IC2 > IC1

คุณสมบัติของเส้นความพอใจเท่ากัน เป็นเส้นโค้งทอดลงจากซ้ายมาขวา เป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด (origin) เส้นความพอใจเท่ากันตัดกันไม่ได้ เป็นเส้นที่ต่อเนื่องไม่ขาดตอน

อัตราส่วนเพิ่มของการทดแทนกันของสินค้า ชนิด (Marginal Rate of Substitution : MRS) สมมุติให้ x และ y เป็นสินค้า 2 ชนิดนั้น ถ้าผู้บริโภคได้รับสินค้า x เพิ่มขึ้น 1 หน่วย โดยได้รับสินค้า y ลดลง ค่า MRSxy = -dY/dX คือค่า slope ของเส้น IC ถ้าผู้บริโภคได้รับสินค้า y เพิ่มขึ้น 1 หน่วย โดยบริโภคสินค้า x ลดลง ค่า MRSyx = -dX/dY

กฎการลดน้อยถอยลงของอัตราส่วนเพิ่มของ การทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด (Law of Diminishing Marginal Rate of Substitution) เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นที่ละหน่วย (สินค้า x) ค่า MRSxy จะมีค่าลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากสินค้าทั้งสองชนิดทดแทนกันได้ไม่สมบูรณ์ ซึ่งเป็นเหตุผลที่อธิบายว่าทำไมเส้น IC จึงโค้งเข้าหาจุดกำเนิด

ข้อยกเว้น 1. กรณี 2 ชนิดทดแทนกันได้สมบูรณ์ x y IC 1. กรณี 2 ชนิดทดแทนกันได้สมบูรณ์ x y IC ค่า MRSxy , MRSyx มีค่าคงที่ตลอดทั้งเส้น ค่า MRSx = ∞ ในช่วง IC ตั้งฉาก ค่า MRSx = 0 ในช่วง IC ขนานกับ แกนนอน 2. สินค้า 2 ชนิดใช้ประกอบกัน y x IC

เส้นงบประมาณ (Budget Line) สินค้า y เส้นงบประมาณ slope = -Px/Py สินค้า x

การเปลี่ยนแปลงเส้นงบประมาณ 1. รายได้เปลี่ยน , ราคาสินค้า x และ y คงที่ y x 2. รายได้คงที่ , ราคาเปลี่ยน 2.2 รายได้คงที่ , ราคาสินค้า y เปลี่ยน , ราคา x คงที่ 2.1 รายได้คงที่ , ราคาสินค้า x เปลี่ยน , ราคา y คงที่ y y x x

ดุลยภาพของผู้บริโภค ดุลยภาพของผู้บริโภคจะเกิดขึ้นเมื่อผู้บริโภคใช้เงินที่มีอยู่จำกัดซื้อสินค้า 2 ชนิด โดยทำให้เขาได้รับความพอใจสูงสุด

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ (1) ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงเมื่อราคาสินค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยน อีกชนิดหนึ่งคงที่

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ (2) ดุลยภาพเปลี่ยนแปลงเมื่อรายได้ที่แท้จริงเปลี่ยน

การสร้างเส้นอุปสงค์จากการวิเคราะห์เส้น IC Price demand : Income demand :

Substitution Effect and Income Effect Note: (See more detail in the text books)