การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
Advertisements

CD ข้อมูล แผ่น ชื่อ File
กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
สรุปผลการดำเนินงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2558 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
13 October 2007
Toward National Health Information System
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
งานระบบเครือข่ายและบริการอินเทอร์เน็ต
ปีงบประมาณ 2556 งบการดูแลผู้ป่วยรายโรค การเข้าถึงยา
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
การบำบัดรักษาทางสังคมจิตใจ สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
HON’s activities Care and Support Program
แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
13 October 2007
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
แนวทางปฏิบัติ กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี ด้อยสิทธิ์/ต่างด้าว
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
มุ่งสู่ความเป็นศูนย์: การเลือกปฏิบัติด้านเอดส์ 10 กันยายน 2557
เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพการสืบพันธุ์
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
Selecting Research Topics for Health Technology Assessment 2016
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
หลักสูตรและกระบวนการ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
อุทธรณ์,ฎีกา.
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ฉบับเต็ม จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
องค์กรออกใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ Certificate Authority
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างพลังใจ และวางแผนชีวิต และสิทธิ
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ รศ.นพ.เกรียงไกร ศรีธนวิบุญชัย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประเด็นพูดคุย แนวคิดเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลสถานการณ์ HIV S&D ในสถานบริการสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจสถานการณ์ HIV S&D ในสถานบริการสุขภาพ วิธีการและขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล

ประโยชน์และความจำเป็นของการติดตามประเมินผล สถานการณ์ HIV S&D ในสถานบริการสุขภาพ ทราบสถานการณ์พื้นฐานก่อนเริ่มโครงการ ข้อมูลจะช่วยชี้จุดที่เป็นประเด็นปัญหาเฉพาะของแต่ละโรงพยาบาล ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นตัวอย่างระหว่างการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้าระหว่างการดำเนินงาน ใช้เป็นข้อมูลในการประเมินความสำเร็จของงาน ช่วยให้เห็นโอกาสในการปรับปรุงการทำงาน และพัฒนาระบบบริการ เป็นเครื่องมือสำหรับการรณรงค์เชิงนโยบายต่อผู้บริหาร

Stigma mechanisms in health care settings Actionable drivers Manifestations Fear of HIV infection Over protecting oneself Negative attitudes Lack of facility policy Discrimination Unaware of stigma

เครื่องมือและวิธีการสำรวจ นำรูปแบบของโครงการเฝ้าระวังสถานการณ์ S&D ในสถานบริการสุขภาพของประเทศ มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของโครงการนี้

เครื่องมือและวิธีการสำรวจ นำรูปแบบของโครงการเฝ้าระวังสถานการณ์ S&D ในสถานบริการสุขภาพของประเทศ มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของโครงการนี้ ออกแบบมาเพื่อทราบสถานการณ์ของแต่ละสถานพยาบาล สำรวจใน 2 กลุ่ม คือบุคลากร และผู้ป่วยเอชไอวี คำถามในแบบสอบถามครอบคลุมประเด็นสำคัญๆ ที่ต้องทราบไว้แล้ว การนำระบบ IT ที่ทันสมัยมาใช้ในการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผล ช่วยให้ทราบผลการสำรวจทันที และสามารถนำผลไปใช้ประโยชน์อย่างทันท่วงที สำรวจ 3 ระยะ คือ ก่อนดำเนินการ ระหว่างดำเนินการ และสิ้นสุดโครงการ

ข้อดีของการสำรวจทั้งบุคลากรและผู้รับบริการ ข้อมูลที่ได้จากมุมมองของผู้รับบริการสามารถนำมาสอบทานกับข้อมูลที่ได้จากบุคลากร หากไปในทิศทางเดียวกัน ก็เป็นการช่วยยืนยัน ให้ข้อมูลมีความหนักแน่นน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น หากขัดแย้งกัน จะนำไปสู่การอภิปรายหาเหตุผล ปัญหาจากการรับบริการของผู้ป่วยที่ได้จากการสำรวจ สามารถนำมาเป็นกรณีตัวอย่างระหว่างการอบรมบุคลากร

Health staff questionnaire Actionable drivers of stigma S&D Domains: Health Staff 1. Fear of HIV infection (3 items) 2. Negative attitudes towards PLHIV (4 items) 3. Over protecting oneself (2 items) 4. Observed discrimination towards PLHIV 5. Observed discrimination towards KPs 6. Uncomfortable working with PLHIV staff (1 items) Basic demographics Health facility policy (4 items) Manifestations of S&D

PLHIV questionnaire S&D Domains: PLHIV 2. Self stigma (2 items) 1. Experienced Discrimination (4 items) 2. Self stigma (2 items) 3. Disclosure of HIV status (3 items) 4. Reproductive health Avoid or delay health services Basic demographics & key population status

ระบบ IT ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผล เก็บข้อมูลด้วย smartphone, tablet, หรือ PC ผ่านทาง internet ใช้โปรแกรม online ชื่อ RedCAP ในการจัดการข้อมูล มีระบบติดตามความก้าวหน้าในการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบ real time สามารถวิเคราะห์และแสดงผลการสำรวจเบื้องต้นแบบ real time จำเป็นต้องมีผู้รับผิดชอบระบบข้อมูลระดับเขต/หรือพื้นที่

การสำรวจ 3 ระยะ ระยะ เวลาที่ทำการสำรวจ การใช้ประโยชน์ ก่อนเริ่มโครงการ (Baseline) ก.พ. 2561? ทราบสถานการณ์เบื้องต้น ชี้จุดเน้นสำหรับการลง intervention ระหว่างดำเนินโครงการ (Midterm) ก.ย. 2561? ติดตามการเปลี่ยนแปลง ชี้จุดที่ควรเน้นเพิ่มเติมในการดำเนินการระยะต่อไป สิ้นสุดโครงการ (End-line) 2562? ประเมินผลสำเร็จของการดำเนินการ

การสำรวจในบุคลากร

กรอบประชากร ที่ใช้ในการสำรวจ ใช้เหมือนกัน ทั้งโรงพยาบาลขนาดเล็ก (โรงพยาบาลชุมชน) และโรงพยาบาลขนาดใหญ่ (โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลศูนย์) บุคลากรทุกคนของโรงพยาบาล ที่มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วย และ/หรือ ญาติผู้ป่วยโดยตรง (ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ป่วย HIV) รวมหมด ทั้งบุคลากรทางการแพทย์ และบุคลากรสนับสนุน ไม่รวม Back office เช่น ธุรการ พัสดุ

ผู้ปฏิบัติงานต่อไปนี้ต้องถูกเชิญให้ร่วมในการสำรวจหรือไม่? Yes No ผู้ช่วยเหลือคนไข้ ยามรักษาการณ์ คนสวน ประชาสัมพันธ์ พนักงานเปล เจ้าหน้าที่เก็บเงิน เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้อำนวยการ รพ. โรงครัว         ? ?

การสำรวจในบุคลากร สำหรับโรงพยาบาลขนาดเล็ก รวบรวมรายชื่อบุคลากรทุกคนของโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผู้ป่วยและญาติ (คัด back office ออก) เชิญให้ทุกคนช่วยตอบ (ให้ครอบคลุมมากที่สุด) ไม่ต้องสุ่มตัวอย่าง

การเลือกกลุ่มตัวอย่าง การสำรวจในบุคลากร สำหรับโรงพยาบาลขนาดใหญ่ กลุ่มที่ 1 ผู้ปฏิบัติงานที่มีโอกาสให้บริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์สูง ได้แก่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในคลินิกต่อไปนี้ ให้เชิญเข้าร่วมให้ข้อมูลทุกคน คลินิกยาต้านไวรัสเอชไอวี คลินิกให้คำปรึกษาเอชไอวี คลินิกวัณโรค คลินิกโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ คลินิกฝากครรภ์ กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานในคลินิกหรือแผนกอื่น ๆ จะสุ่มเลือกมาจำนวนหนึ่งจากรายชื่อเพื่อเป็นตัวแทนของโรงพยาบาล

การเตรียมการเกี่ยวกับข้อมูลของ รพ. ขนาดใหญ่ รวมรวมรายชื่อ บุคลากรกลุ่มที่ 1 (คลินิกที่เกี่ยวข้องกับเอชไอวี/เอดส์โดยตรง 5 คลินิก) บุคลากรกลุ่มที่ 2 (คลินิกและแผนกอื่นๆ ไม่รวม back office) ผู้ประสานงานโครงการของโรงพยาบาลส่งรายชื่อบุคลากรกลุ่มที่ 2 ในรูปแบบของ file Excel ให้ทีมส่วนกลาง เพื่อคำนวณขนาดตัวอย่างและสุ่มตัวอย่าง ทีมส่วนกลางจะทำการคำนวณขนาดตัวอย่าง สุ่มตัวอย่าง และส่งรายชื่อบุคลากรกลุ่มที่ 2 ที่ถูกสุ่มพร้อมทั้งรายชื่อสำรอง กลับไปให้ทางโรงพยาบาล

การเก็บรวบรวมข้อมูลบุคลากร เชิญบุคลากรที่มีรายชื่อ เป็นกลุ่มๆ ละไม่เกิน 20 คน เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจ และขอให้ร่วมตอบแบบสอบถาม บุคลากรอ่าน ทำความเข้าใจแบบสอบถาม และตอบด้วยตนเอง โดยใช้ smartphone, tablet หรือ PC ของตัวเองผ่าน program online RedCAP

การสำรวจในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ใช้วิธีเดียวกันทั้งโรงพยาบาลขนาดเล็ก (โรงพยาบาลชุมชน) และโรงพยาบาลขนาดใหญ่ (โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลศูนย์)

กลุ่มเป้าหมายผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่จะทำการสำรวจ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ ที่เคยมารับบริการและอยู่ในความดูแลของโรงพยาบาล กำลังกินยาต้านไวรัสหรือไม่ก็ได้ อายุ 18 ปี ขึ้นไป ไม่ป่วยหนัก ยินดีให้ข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ป่วย เชิญผู้ป่วยเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ ที่มารับการตรวจรักษา ณ คลินิกยาต้านไวรัสของโรงพยาบาล ภายในช่วงเวลาประมาณ 1 เดือน ก่อนเริ่มกิจกรรม intervention มาร่วมให้ข้อมูล ควรกระจายการเก็บข้อมูลไปในทุกๆ คลินิก ที่มีการตรวจรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ ตลอดช่วงระยะเวลา 1 เดือน ไม่จำเป็นต้องสุ่มตัวอย่าง ให้เชิญผู้ป่วยทุกรายที่สะดวกจะให้ข้อมูล ณ ขณะนั้น เก็บข้อมูลให้ได้มากที่สุด รพ.ขนาดเล็ก อย่างน้อย 100 ราย รพ.ขนาดใหญ่ อย่างน้อย 200 ราย ผู้ป่วยอ่านทำความเข้าใจแบบสอบถาม และตอบด้วยตนเอง ผ่าน smartphone, tablet หรือ PC เจ้าหน้าที่ให้ข้อมูลเพิ่มเฉพาะเมื่อมีคำถาม

การติดตาม clinical indicators เราคาดหวังว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นของ clinical outcome ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากโครงการนี้ด้วย เบื้องต้นเลือกไว้ 3 ข้อ ไดแก่ 1. % first CD4<200 2. % Retention 12 เดือน 3. % Undetectable viral load ควรมีการติดตามข้อมูลข้างต้น ของโรงพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ

การบริหารจัดการ การกำหนดตัวผู้รับผิดชอบดำเนินงาน ในขั้นตอนต่างๆ ของการสำรวจ ระบบติดตามความก้าวหน้าในการเก็บข้อมูล การติดต่อประสานงานระหว่าง รพ. จังหวัด/เขต และทีมส่วนกลาง การนำผลการสำรวจของแต่ละ รพ. มาใช้ประโยชน์อย่างทันท่วงที

ksrithanaviboonchai@gmail.com 0818856142 ขอบคุณครับ ksrithanaviboonchai@gmail.com 0818856142