โดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
โครเมี่ยม (Cr).
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ระดับความเสี่ยง (QQR)
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
เรื่อง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ. 2561
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
เรื่อง อันตรายของเสียง
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แผ่นดินไหว.
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
SMS News Distribute Service
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
Supply Chain Management
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว อยู่ปลอดภัยกับอะตอม โดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว อยู่ปลอดภัยกับอะตอม อะตอมมีอยู่ในทุกสิ่งทุกอย่าง ทั้งของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เช่น ของใช้ น้ำ ออกซิเจน ล้วนแต่มีอะตอมเป็นส่วนประกอบ จากอะตอมนำไปสู่พลังงานนิวเคลียร์ ซึ่งเป็นพลังงานสำคัญในปัจจุบันและจะยิ่งสำคัญต่อไปในอนาคต พลังงานนิวเคลียร์ หรือที่เรียกกันว่า “กัมมันตภาพรังสี” และเรียกกัมมันตภาพรังสีนี้กันสั้นๆ เพียง “รังสี” หากเราเข้าใจรังสีให้ดี ให้รู้จริง และให้ถูกต้อง ก็จะสามารถอยู่ร่วมกับรังสีได้อย่างปลอดภัย จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว รู้จักกับรังสี รังสีแบ่งตามลักษณะได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. รังสีในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสง รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา 2. รังสีที่เป็นอนุภาค เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีนิวตรอน จากรังสีทั้งสองประเภทนี้ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา รังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีนิวตรอน จัดเป็นรังสีชนิดก่อไอออน (ionizing radiation) จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

รังสีชนิดก่อไอออน คืออะไร รังสีหรืออนุภาคใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ทั้งโดยทางตรงหรือทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตอนที่มีความเร็วสูง อาจทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตได้ เช่น เซลล์ไม่สามารถทำงานได้ เซลล์ผิดปกติ เกิดการกลายพันธุ์ ทำให้เป็นหมัน หรือทำให้เซลล์ตายได้ จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

รังสีชนิดก่อไอออน คืออะไร รังสีชนิดก่อไอออนที่สำคัญ ได้แก่ 1. รังสีแอลฟา (alpha rays = ) 2. รังสีบีตา (beta rays = ) 3. รังสีแกมมา (gamma rays = ) 4. รังสีเอกซ์ (X-rays) ทั้งรังสีแอลฟา บีตา แกมมา เป็นรังสีที่ธาตุกัมมันตรังสีปลดปล่อยออกมาตามธรรมชาติจากนิวเคลียสของอะตอม ส่วนรังสีเอกซ์เป็นรังสีที่มนุษย์สร้างขึ้น เกิดในชั้นอิเล็กตรอนที่โคจรอยู่รอบๆ นิวเคลียส จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว รังสีอยู่ที่ไหน รังสีมีอยู่ทุกหนทุกแห่ง ไม่ว่าจะในอากาศ น้ำ พื้นดิน ใต้พื้นดิน หรือแม้แต่นอกโลก ดังนั้นมนุษย์ไม่มีโอกาสหลบเลี่ยงการรับรังสีได้ เพราะแม้แต่ในร่างกายของเราเองก็มีรังสีสะสมอยู่มากน้อยแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสภาพที่อยู่อาศัย อาหารการกินและอากาศที่หายใจของแต่ละบุคคลว่ามีรังสีสะสมอยู่มากน้อยเท่าใด การได้รับรังสีทั่วร่างกายจากแหล่งต่างๆ จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

กัมมันตรังสีและกัมมันตภาพรังสีแตกต่างกันอย่างไร กัมมันตรังสี (radioactive) เป็นคำคุณศัพท์ ส่วนใหญ่ใช้ขยายคำว่า สาร/ธาตุ เช่น สาร/ธาตุกัมมันตรังสี หรือวัสดุกัมมันตรังสี หมายถึงตัวธาตุหรือวัสดุที่ปล่อยรังสี (แอลฟา บีตา แกมมา) ออกมา กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) เป็นคำนาม เป็นคำเรียกปรากฏการณ์ของปฏิกิริยาการแผ่รังสีตลอดเวลาของธาตุกัมมันตรังสี จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

ปริมาณรังสีเท่าใดจึงจะปลอดภัย คำว่า “ปลอดภัย” ในที่นี้หมายถึง ปริมาณรังสีที่ได้รับนั้นไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และไม่ทำให้เกิดความผิดปกติในร่างกาย หน่วยที่เราใช้วัดปริมาณการได้รับรังสี เรียกว่า ซีเวิร์ต (sievert, Sv) ICRP ได้กำหนดขีดจำกัดปริมาณรังสี (dose limit) หรือปริมาณรังสียังผลที่บุคคลอาจได้รับจากการดำเนินกิจกรรมทางรังสี ให้สำหรับอวัยวะต่างๆ ดังนี้ จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

ปริมาณรังสีเท่าใดจึงจะปลอดภัย ร่างกาย/อวัยวะ สำหรับผู้ปฏิบัติงานทางรังสี สำหรับประชาชนทั่วไป ปริมาณรังสียังผลที่ร่างกายได้รับเฉลี่ยต่อปี ไม่เกิน 20 mSv เฉลี่ยระยะเวลา 5 ปีติดต่อกัน โดยในปีใดปีหนึ่งต้องได้รับปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 50 mSv ต่อปี 1 mSv ต่อปี เลนส์ตา อวัยวะสืบพันธุ์ ไขกระดูก ไม่เกิน 150 mSv ต่อปี 15 mSv ต่อปี ผิวหนัง ไทรอยด์ มือ แขน ขา 500 mSv ต่อปี 50 mSv ต่อปี จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

การได้รับรังสีและการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี การได้รับรังสี คือการที่เนื้อเยื่อหรืออวัยวะของร่างกายได้รับการถ่ายโอนพลังงานจากรังสี เซลล์จะถูกทำลายหรือทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง จากนั้นร่างกายจะสร้างเซลล์ใหม่ ซึ่งอาจสร้างขึ้นใหม่อย่างผิดปกติ จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

การได้รับรังสีและการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี การเปื้อนสารกัมมันตรังสี เป็นการเปื้อนจากการได้สัมผัสสารกัมมันตรังสี ไม่ว่าจะเป็นวัตถุ สิ่งของ หรือสิ่งมีชีวิต รวมถึงภายนอกร่างกาย เราสามารถล้างออกทันทีด้วยน้ำและสบู่อ่อน เพื่อชำระสารกัมมันตรังสีให้หลุดออกไป หากไม่ชำระล้างให้สะอาด ร่างกายก็จะได้รับพลังงานจากรังสีตลอดเวลา สำหรับสิ่งของที่เปื้อนสารกัมมันตรังสี เมื่อไม่ต้องการใช้งานแล้วก็จะกลายเป็นขยะ แต่วิธีการจัดการขยะเปื้อนสารกัมมันตรังสีแตกต่างจากการจัดการขยะทั่วไป จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

ร่างกายจะได้รับรังสีได้อย่างไร 1. จากการสัมผัสภายนอกร่างกาย 2. การรับเข้าร่างกายโดยตรงผ่านการสูดลมหายใจหรือกินดื่มเข้าไป จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

สถานที่ที่มีการใช้สารกัมมันตรังสี เราสามารถสังเกตได้จากสัญลักษณ์เตือนรูปใบพัดสีม่วงแดงหรือสีดำบนพื้นสีเหลือง (Trefoil) หมายถึง : บริเวณที่มีกัมมันตภาพรังสี จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

สถานที่ที่มีการใช้สารกัมมันตรังสีจะมีป้ายบ่งชี้ ห้องเอกซเรย์ในโรงพยาบาล สถานพยาบาล และห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ โรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้สารกัมมันตรังสีในเครื่องมือเครื่องจักร สถาบันวิจัยที่ใช้สารกัมมันตรังสี เช่น สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) สถานศึกษาที่ใช้สารกัมมันตรังสี เช่น มหาวิทยาลัย สถานที่ระหว่างการขนส่งสารกัมมันตรังสี เช่น ท่าเรือ จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

หากได้รับปริมาณรังสีเกินกำหนดจะเป็นอย่างไร เกิดอาการต่อร่างกายโดยตรง แบบที่ส่งผลไปทางพันธุกรรม จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

เกิดอาการต่อร่างกายโดยตรง ผลที่เกิดขึ้น ขึ้นอยู่กับการได้รับรังสี แบบเฉียบพลัน (acute exposure) เกิดจากอุบัติเหตุ แบบเรื้อรัง (chronic exposure) เกิดจากการทำงานที่ได้รับรังสีสะสมอยู่เรื่อยๆ ผลคือ ทำให้เกิด โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งต่างๆ ต้อกระจก เป็นต้น จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

แบบที่ส่งผลไปทางพันธุกรรม ผลที่เกิดขึ้นกับทางพันธุกรรม จะเกิดขึ้นในเซลล์สืบพันธุ์ โดยจะทำให้เป็น หมัน หรือ เกิดการกลายพันธุ์ (mutation) ซึ่งความผิดปกติจะไปปรากฎในรุ่นหลานเหลนได้ จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

อาการป่วยเนื่องจากรังสี อาการป่วยแบ่งออกได้ เป็น 3 ระยะ คือ ระยะเตือนล่วงหน้า ได้แก่ อาการคลื่นเหียน อาเจียน หายใจไม่สะดวก เพลีย หมดแรงทรงตัว ผิวหนังแดง ระยะแอบแฝง เป็นระยะที่สงบ ไม่แสดงออก กำหนดช่วงเวลาไม่ได้ ขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ ระยะปานจริง เป็นอาการต่อจากระยะแอบแฝง ได้แก่ มีไข้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด เลือดออก ผมร่วง ช็อก จำอะไรไม่ได้ หมดความรู้สึก และอาจเสียชีวิตได้ จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

นักวิทยาศาสตร์ตรวจวัดปริมาณรังสีได้อย่างไร ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ใช้ไม่ได้ อุปกรณ์บันทึกปริมาณรังสีประจำตัวบุคคล ฟิล์มริงก์ (film ring) ฟิล์มแบดจ์ (film badge) ทีแอลดีแบดจ์ (TLD badge) จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

การทำงานของอุปกรณ์วัดปริมาณรังสี ฟิล์มแบดจ์ (film badge) เครื่องวัดปริมาณรังสีชนิดอ่านค่าได้ทันที (direct reading dosimeter) เครื่องวัดปริมาณรังสีชนิดเสียบกระเป๋า เครื่องวัดปริมาณรังสีชนิดให้สัญญาณเตือน เครื่องวัดปริมาณรังสีชนิดเทอร์โมลูมิเนสเซนซ์ (thermoluminescent dosimeter - TLD) จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว Survey meter จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

กฎปลอดภัยเมื่ออยู่กับรังสี กฎ 3 ข้อ 1. เวลา น้อยที่สุด 2. ระยะทาง มากที่สุด 3. วัสดุป้องกัน เหมาะสมที่สุด จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

แบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุทางรังสี ระดับ 0 การเบี่ยงเบน (deviation) เหตุการณ์คลาดเคลื่อนเล็กน้อยจากการเดินเครื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ตามปกติ ไม่ส่งผลต่อความปลอดภัย ระดับ 1 เหตุผิดปกติ (anamaly) เหตุการณ์ที่แตกต่างจากเงื่อนไขตามที่อนุญาตให้เดินเครื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ไม่มีผลกระทบด้านความปลอดภัย ไม่มีการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี ผู้ปฏิบัติงานไม่ได้รับปริมาณรังสีเกินเกณฑ์กำหนด จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

แบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุทางรังสี (ต่อ) ระดับ 2 เหตุขัดข้อง (incident) เหตุการณ์ซึ่งส่งผลกระทบด้านความปลอดภัยแต่ระบบป้องกันอื่นๆ ยังสามารถควบคุมสภาวะผิดปกติอื่นๆ ได้ ผู้ปฏิบัติงานได้รับปริมาณรังสีเกินกำหนด มีการแพร่กระจายของสารกัมมันตรังสีภายในบริเวณโรงงาน (ไม่ได้ออกแบบรองรับไว้) ต้องดำเนินการแก้ไข ระดับ 3 เหตุขัดข้องรุนแรง (serious incident) เหลือเพียงระบบป้องกันขั้นสุดท้าย มีการแพร่กระจายของกัมมันตรังสีภายในโรงงานอย่างรุนแรง ผู้ปฏิบัติงานได้รับรังสีในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ มีการแพร่กระจายสารกัมมันตรังสีออกสู่ภายนอกโรงงานเล็กน้อย จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

แบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุทางรังสี (ต่อ) ระดับ 4 อุบัติเหตุที่ไม่มีนัยสำคัญต่อ (ผลกระทบ) ภายนอกโรงงาน(accident without significant off-site risk) เกิดความเสียหายในระดับสำคัญ - แกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์หลอมละลายบางส่วน ผู้ปฏิบัติงานได้รังสีเกินกำหนด ทำให้มีโอกาสเสียชีวิต มีการแพร่กระจายสู่ภายนอก ระดับ 5 อุบัติเหตุที่มีผลกระทบถึงภายนอกโรงงาน (accident with off-site risk) อุบัติเหตุที่ก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่อสถานปฏิบัติการณ์นิวเคลียร์ มีการแพร่กระจายของกัมมันตรังสีภายนอกโรงงานเทียบเท่ากัมมันตภาพของไอโอดีน-131 ในช่วง 100-1,000 เทระแบ็กเกอแรล ต้องใช้แผนฉุกเฉินบางส่วน จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

แบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุทางรังสี (ต่อ) ระดับ 6 อุบัติเหตุรุนแรง (serious accident) มีการแพร่กระจายของกัมมันตรังสีภายนอกโรงงานในปริมาณมาก เทียบเท่ากัมมันตภาพของไอโอดีน-131 ในช่วง 1,000-10,000 เทระแบ็กเกอแรล ต้องดำเนินการตามแผนฉุกเฉินอย่างเต็มรูปแบบ ระดับ 7 อุบัติเหตุรุนแรงที่สุด/อุบัติเหตุใหญ่หลวง (major accident) มีการแพร่กระจายของกัมมันตรังสีภายนอกโรงงานในปริมาณมหาศาล เทียบเท่ากัมมันตภาพของไอโอดีน-131 มากกว่า 10,000 เทระแบ็กเกอแรล มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมอย่างกว้างขวาง จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว

ทำอย่างไรเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางรังสี ห้ามหยิบ จับ สัมผัส เด็ดขาด ถอยห่างจากต้นกำเนิดรังสีให้มากที่สุด โดยอยู่เหนือลม หาเครื่องกำบังที่เหมาะสม ในกรณีที่ไม่ทราบว่าเป็นกัมตภาพรังสีชนิดใดให้อยู่หลังกำแพงคอนกรีตหนาๆ หรือใช้แผ่นโลหะหนาๆ กำลังตลอดทั้งร่างกาย จดจำลักษณะสำคัญ สัญลักษณ์ รวมถึงข้อความบนวัตถุต้องสงสัยให้มากที่สุด โทรศัพท์แจ้งเหตุ ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำโดย สุกิจ อติพันธ์ เบญจพร หนูคล้าย และ พิสมัย สว่างแผ้ว