Transportation Management System (TMS) ระบบบริหารจัดการขนส่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
รายชื่อกลุ่ม 1.น.ส.อริศรา มีตัน ปวส. 2/6 รหัส น.ส.พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ ปวส. 2/6 รหัส น.ส.ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค ปวส. 2/6 รหัส
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
Key Performance Indicators (KPI)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
กลุ่มเกษตรกร.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS )
Supply Chain Management
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
Transportation Management System ( TMS )
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Transportation Management System (TMS) ระบบบริหารจัดการขนส่ง

สมาชิกกลุ่ม นายวีระชัย แย้มเจริญ รหัส 5506105044 นางสาววราภรณ์ ธรรมมัง รหัส 5506105041 นายวีระชัย แย้มเจริญ รหัส 5506105044 นายศักดิ์สิทธิ์ เตจ๊ะใหม่ รหัส 5506105047 นายสุรพันธ์ ทิพนี รหัส 5506105052 นางสาวสุวนันท์ บุญเรือง รหัส 5506105054

TMs TMS หรือ ระบบบริหารการขนส่ง เป็นโปรแกรมสำหรับผู้ให้บริการขนส่ง ในการบริหารจัดการการขนส่งสินค้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่ง และเพิ่มคุณภาพการบริการ ข้อมูลระหว่างผู้ส่งสินค้า ผู้รับสินค้า และผู้ให้บริการขนส่ง เกิดขึ้นอย่างโปร่งใส และทันเวลา ระบบ TMS สามารถทำงานเชื่อมโยงกับระบบ GPS เพื่อติดตามสถานการณ์ขนส่ง และวางแผนการขนส่งได้ เมื่อผู้ซื้อ สั่งซื้อสินค้าจากผู้ผลิต (***คลิก***) ผู้ผลิตจะจัดส่งสินค้าไปให้ผู้ซื้อโดยผ่านผู้ให้บริการขนส่งสินค้า (***คลิก***) จากนั้นผู้ให้บริการขนส่งสินค้าจะทำการค้นหาเส้นทางที่ใกล้ และรวดเร็วที่สุด (***คลิก***) โดยเชื่อมโยงกับระบบ GPS (***คลิก***) เพื่อที่จะสามารถทราบว่า ณ ตอนนี้ สินค้าที่จัดส่งไปอยู่ที่ไหน ถึงมือผู้รับแล้วหรือไม่(***คลิก***) การขนส่งจะแบ่งเป็น 2 แบบ คือ การขนส่งแบบเหมาคับ และ การขนส่งแบบรายชิ้น

ศัพท์และความหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีในการบริหารจัดการขนส่งสินค้ามี มากมาย จนสร้างความสับสนอยู่พอสมควร คำว่า Transport Management System, Transport System Management, และ Fleet Management System ดูจะมี ความหมายกว้างและแตกต่างกันไปตามแต่องค์กรจะสนใจในเรื่องใดมากกว่ากัน องค์กรที่ให้บริการด้านการตรวจสอบสถานะสินค้าหรือรถที่ขนส่งสินค้า ก็เรียก บริการด้าน GPS ว่าเป็น Fleet Management System องค์กรที่สนใจเรื่องการจับ คู่ความต้องการขนส่งสินค้ากับรถวิ่งเที่ยวเปล่าในเส้นทางที่สอดคล้องกัน เพื่อหาโอกาสในการ ใช้รถวิ่งเที่ยวเปล่า ซึ่งคิดค่าขนส่งที่ต่ำกว่ามาก (ลักษณะเดียวกับ Thaitruckcenter.com) ก็จะเรียกบริการ Web Service นี้ว่า Transport Management System หรือ Fleet Management System ส่วน software พื้นฐานที่ผู้ประกอบการขนส่งหรือผู้ ให้บริการขนส่งจะใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการขนส่งโดยเฉพาะ มีหน้าที่หลักที่สำคัญ คือ การจัดสรรรถบรรทุก หรือ Fleet Optimization และการจัดเส้นทางเดินรถ หรือ Route Optimization เรียกโดยรวมว่าเป็น TMS : Transport Management System ซึ่งเป็นเรื่องที่จะกล่าวถึงในฉบับนี้

เป้าหมายในการบริหารงานขนส่ง เป้าหมายในการบริหารงานขนส่งคือ ความรวดเร็ว และต้นทุน ซึ่ง ผู้ประกอบการขนส่งจะคำนึงถึงเรื่องต้นทุนเป็นเรื่องหลัก เช่นเดียวกันกับ ผู้ประกอบการในธุรกิจต่างๆ ต้นทุนการขนส่งคิดแบบง่ายๆ โดยประกอบด้วยค่าใช้จ่าย 3 ส่วน คือ 1) ต้นทุนคงที่ เช่น การลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน และ ค่าภาษีต่างๆ เป็นต้น 2) ต้นทุนผันแปรมากน้อยขึ้นอยู่กับระยะทางการวิ่งรถและชั่วโมงการขับรถ 3) ต้นทุนค่า ปรับเมื่อไม่สามารถส่งมอบงานได้ตามที่กำหนดไว้ในสัญญา

เครื่องมือที่ผู้ประกอบการขนส่งมืออาชีพเริ่มให้ความสนใจศึกษาพัฒนามาใช้ในการ บริหารสิ่งเหล่านี้ คือ TMS (Transport Management System) โปรแกรมการแก้ไขปัญหางานบริการ ขนส่งที่ซับซ้อนมากขึ้น ประกอบด้วยฐานข้อมูลสำคัญ ได้แก่ 1) เส้นทางการวิ่งรถ (รวมจุดจอดพักรถ ทางอันตราย ทางซ่อมบำรุง แผนที่ หรือ ระบบ GIS) 2) กอง รถ (ขนาด ประเภท อัตราการใช้เชื้อเพลิง ระยะทางวิ่งที่เหมาะสม สำหรับรถแต่ละคัน/ ประเภท) 3) พนักงานขับรถ (ประเภทใบขับขี่ เส้นทางที่ชำนาญหรือต้องการวิ่ง ช่วงเวลาที่ต้องการ ทำงาน อัตราค่าจ้าง) 4) ข้อจำกัดด้านกฎหมาย เช่น ระเบียบทางราชการของรถบางประเภท สินค้าบางประเภท เส้นทางบาง เส้นทาง จำนวนชั่วโมงในการขับขี่ และการขับรถให้ตรงกับประเภทใบขับขี่ 5) จุดหลักหรือสถานที่ๆ รถต้องแวะรับและส่งสินค้า (โรงพักสินค้ากลาง โรงงานและ ศูนย์กระจาย สินค้าของลูกค้า ร้านค้าหรือบ้านเรือนปลายทาง ท่าเรือ ท่าอากาศยาน ด่านศุลกากรตามชายแดน) 6) ระบบการรับคำสั่งจากลูกค้า (ประเภทสินค้า จำนวน ต้นทาง-ปลายทาง เวลานัดหมายบริการ เพิ่มเติมอื่นๆ)

เมื่อได้ฐานข้อมูลหลักต่างๆ แล้ว โปรแกรมจะคำนวณและ จัดสรรรถ คนขับ เส้นทางการวิ่งรถรับและส่งสินค้า ตารางเวลารถ เข้า-ออกที่สอดคล้องกับ order ที่เข้ามาได้อย่างเหมาะสม รวมทั้ง คำนวณต้นทุนและระยะเวลาที่เกี่ยวข้องให้ได้รับทราบอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีทั้งการจัดสรรรถแบบเต็มคันจุดรับ-ส่งน้อยจุด และจัดสรรรถ แบบค่อยๆ วิ่งรับสินค้าแบบหลายจุด ส่งปลายทางแบบหลายจุด ได้ ตามความต้องการของลูกค้าด้วยต้นทุนที่ต่ำที่สุด ผู้ประกอบการขนส่ง จึงสามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างสมประโยชน์ที่สุด รวมทั้งสามารถใช้ ประโยชน์ในรถวิ่งเที่ยวกลับได้มากขึ้นด้วย

โปรแกรม TMS ดังกล่าวอาจประกอบด้วยโปรแกรมย่อย หลายตัว เช่น โปรแกรมการจัดสรรรถตาม order หรือ Fleet Optimization โปรแกรมการจัดสรรเส้นทางที่สั้นที่สุด (shortest path) หรือที่เร็วที่สุด (shortest time) หรือ Route Optimization โปรแกรมการรับงานจากลูกค้า และ โปรแกรมการจ่ายงานให้กับผู้ทำการขนส่ง

ระบบบริหารจัดการกองรถขนส่ง ( Fleet Management System ) ระบบนี้คงเป็นระบบเดียวที่มักจะดำเนินการโดย หน่วยงานภายในขององค์กรเอง วัตถุประสงค์หลักของการ ติดตั้งระบบนี้ ก็เพื่อใช้ในการบริหารจัดการรถบรรทุกที่มี จำนวนมากเกินกว่าที่จะบริหารจัดการการด้วยคน

ระบบบริหารจัดการกองรถขนส่ง ( Fleet Management System ) (ต่อ) การจัดทำตารางการบำรุงรักษา (Maintenance Scheduling) รถบรรทุกซึ่งมักมี กลไกที่ต้องมีการกำหนดการบำรุงรักษาเป็นระยะๆ เป็นการดูแลรักษาแบบ ป้องกัน เพื่อให้มั่นใจในสภาพที่พร้อมต่อการใช้งาน เช่น ระบบไฮดรอลิก และระบบความเย็น เป็นต้น การควบคุมปริมาณอะไหล่รถบรรทุกเพื่อการซ่อมบำรุง ( Vehicle Parts Control, Stock Re- ordering and Inventory Control ) หากปริมาณรถเป็น จานวนมากและศูนย์ซ่อมบำรุงเป็นของตนเอง จาเป็นต้องมีฟังก์ชันที่ช่วยให้ การควบคุมปริมาณอะไหล่คงคลัง และปริมาณการสั่งซื้อสินค้าเป็นไปอย่าง เหมาะสม พอดี และสอดคล้องกับความต้องการใช้งาน

ระบบบริหารจัดการกองรถขนส่ง ( Fleet Management System ) (ต่อ) ธุรการรถบรรทุก ( Fleet Administration) เป็นฟังก์ชันในการ บันทึกช่วยจาเกี่ยวกับงานทะเบียนรถ การเสียภาษี การขึ้นแผ่น ทะเบียนรถ รวมทั้งการบันทึกเก็บประวัติซึ่งเป็นงานประจาที่หลีก เหลี่ยงไม่ได้เช่นกัน การควบคุมดูแลระหว่างการใช้งาน ( Operation Monitoring) การ ดูแลยางรถบรรทุก การใช้น้ามันของรถและคัน เป็นค่าใช้จ่าย สำคัญซึ่งมีรายการประเภททรานแซกชั่นค่อนข้างมาก การมีฟังก์ชั่น นี้ช่วยให้เกิดการควบคุมดูแลที่เป็นระบบมากขึ้น

ระบบการวางแผนและเส้นทางการเดินรถ ( Vehicle Routing & Planning) เป็นอีกระบบหนึ่งของการบริหารจัดการการขนส่งที่มี ความสำคัญไม่น้อย ซึ่งมีผลต่อเนื่องกับการลดค่าใช้จ่ายของค่าขนส่ง กล่าวคือ ช่วยให้การควบคุมการวิ่งของรถและจำนวนเที่ยวรถเป็นไป อย่างมีระบบ ลดจำนวนเที่ยวรถที่ไม่จำเป็น และการจัดเส้นทางการเดิน รถที่ประหยัดและคุ้มค่าที่สุด ซอร์ฟแวร์ประเภทนี้สามารถช่วยงานใน 2 ด้านหลัก

ระบบการวางแผนและเส้นทางการเดินรถ (Vehicle Routing & Planning) (ต่อ) การวางแผนระดับกลยุทธ์ ซอร์ฟแวร์ประเภทนี้ถูกนำมาประยุกต์ใช้เพื่อ การวางแผนและออกแบบโครงการ การคำนวณ จำนวนรถบรรทุกที่จา เป็นสำหรับโครงการนั้นๆ การวางแผนเส้นทางและกำหนดการเดินรถ และการวิเคราะห์ต้นทุนค่าขนส่ง การวางแผนและอำนวยความสะดวกด้านปฏิบัติการ ซอร์ฟแวร์ประเภท นี้ถูกนำมาประยุกต์ใช้เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในระดับปฏิบัติการ

ระบบตรวจหาตำแหน่งและควบคุมการเดินรถ (Vehicle Based System) ควบคุมดูแลการใช้น้ามันรถ การล็อคตู้คอนเทนเนอร์ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อป้องกันการถูกเปิดระหว่างทาง ตรวจสอบความผิดปกติของตัวรถและประสิทธิภาพของรถไปในตัว ควบคุมพฤติกรรมคนขับรถ ดูแลการเดินรถให้อยู่ในเส้นทางที่ควรจะเป็น และสภาพของท้องถนน สามารถรู้ความคืบหน้าของเส้นทางการเดินรถและตรวจสอบได้ สามารถควบคุมอุณหภูมิ หากมีการติดตั้งกล่องวัดอุณหภูมิในห้องบรรทุก การดักฟังการสนทนามีสิ่งบอกเหตุผิดปกติ *** สไลค์ 10**** ระบบตรวจหาตำแหน่งและควบคุมการเดินรถ GPRS เข้ามามีบทบาทและมีเครือข่ายที่เกือบจะครอบคลุม อีกทั้งง่ายต่อการนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวาง ซึ่งนอกเหนือจากการควบคุมคนขับรถและตัวรถที่วิ่งอยู่ในท้องถนนแล้ว ยังสามารถนามาใช้ประโยชน์หลายๆด้าน เช่น

เป้าหมายในการบริหารงานขนส่ง คือ ความรวดเร็ว และต้นทุนผู้ประกอบการในธุรกิจต่างๆ ต้นทุนการขนส่งคิด แบบง่ายๆ โดยประกอบด้วยค่าใช้จ่าย 3 ส่วน คือ 1) ต้นทุนคงที่ เช่น การลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน และ ค่าภาษีต่างๆ เป็นต้น 2) ต้นทุนผันแปร มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระยะทางการวิ่งรถ และชั่วโมงการ ขับรถ เป็นต้น  3) ต้นทุนค่า ปรับเมื่อไม่สามารถส่งมอบงานได้ตามที่กำหนดไว้ในสัญญา การคำนวณเรื่องการคุ้มทุนในเรื่องเหล่านี้คงไม่ยากสำหรับเถ้าแก่ทั่วไป ที่มี รถไม่กี่คัน และงานขนส่งไม่ซับซ้อน  

GPS Tracking System : GPS ( Global Positioning System) คือ ระบบบอกพิกัดผ่านทางดาวเทียม ซึ่งโคจรสูงจากพื้นโลก ประมาณ 20000 กิโลเมตร โดยจะทาหน้าที่ส่งสัญญาณให้กับ อุปกรณ์ลูกข่ายเพื่อคำนวณ ตรวจสอบ และถอดรหัสสัญญาณที่ได้ จากดาวเทียม เพื่อให้ได้พิกัดตำแหน่งและข้อมูลการเคลื่อนที่ของ ยานพาหนะที่ถูกต้องตลอด 24 ชั่วโมง

GPS Tracking System : GPS ( Global Positioning System) (ต่อ) ตรวจสอบตำแหน่งปัจจุบันของรถ และแสดงพฤติกรรมของการใช้งานรถ ตรวจสอบสถานะปัจจุบันของรถ เช่น จอดรถ ติดเครื่อง-ดับเครื่อง หรือขับ เร็วเกินกำหนด แสดงเส้นทางการเดินรถย้อนหลังในแต่ละวัน และแสดงเวลาเมื่อรถผ่าน สถานที่ต่างๆ

ประโยชน์ของ GPS Tracking System ลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายจากการเดินรถ โดยการประหยัดค่าน้ำมัน และลด ค่าใช้จ่ายจากการซ่อมบำรุง อันเนื่องมาจากการออกนอกเส้นทาง การติด เครื่องยนต์ทิ้งไว้ การขัยรถเร็วซึ่งอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุ รวมถึงสามารถ ตรวจสอบในเรื่องของการลักลอบดูดน้ำมันไปขายของพนักงานขับรถ ป้องกันการนำรถไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ ลดพฤติกรรมการใช้งานรถที่ไม่ เหมาะสม เช่น การหยุดพักที่นานเกินควร หรือการจอดรถโดยติดเครื่องเป็น ระยะเวลานาน เพิ่มความปลอดภัยในทรัพย์สิน และช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุจากการใช้ ความเร็วที่ไม่เหมาะสม

ประโยชน์ของ GPS Tracking System (ต่อ) บริหารเวลาการทำงานของรถได้ดียิ่งขึ้น ทำให้ใช้งานรถได้เต็มประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเดินรถให้เกิดประโยชน์สูงสุด สามารถตรวจสอบคุณภาพการจัดส่งได้ตลอดเวลา (โดยอาศัยอุปกรณ์วัด อุณหภูมิในรถยนต์) สินค้าที่ลูกค้าได้รับจึงมีคุณภาพสูง สามารถตรวจสอบพฤติกรรมของคนขับรถแต่ละคน ( จากหมายเลข ประจำตัวคนขับ) จึงสะดวกในการควบคุมดูแลและขอความร่วมมือจาก พนักงานขับรถ เพิ่มคุณภาพในการบริการลูกค้า และการแข่งขันทางธุรกิจ

กล่องดำ ***สไลค์ 15 กล่องดำ*** อุปกรณ์ฮารด์แวรที่จาเป็นซึ่งเราเรียกกันว่า “กล่องดำ” เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทางานร่วมกับดาวเทียมบอกพิกัด GPS ซึ่งมีความสาคคัญโดยสามารถรายงานข้อมูลการใช้งานรถ เช่น ตาแหน่งของรถในเวลาต่างๆ เช่น เส้นทางการเดินรถ เวลาที่มีการเริ่มใช้งานและ/หรือหยุดใช้งาน ความเร็วในการใช้งานรถ และการจอดรถติดเครื่อง โดยข้อมูลการใช้งานต่างๆ จะเก็บไว้ในหน่วยความจาของกล่องดา

ประโยชน์ที่ได้จากอุปกรณ์กล่องดำ การแสดงข้อมูลทั้งแบบเรียลไทม์ และแบบย้อนหลัง สามารถแจ้งเตือน ไปที่สานักงานเมื่อเริ่มใช้งานรถ ความเร็ว การจอดรถดับเครื่อง-ติด เครื่องทิ้งไว้ การเข้าสถานีหลัก หรือ สถานีย่อย หรือเข้าพื้นที่หวงห้าม รวมไปถึงสรุปพฤติกรรมการใช้รถได้อีกด้วย ความสามารถกำหนดตำแหน่งสถานที่สำคัญในแผนที่ และบันทึกเวลา การถึงที่หมายในแต่ละวันได้ ด้วยข้อมูลแผนที่ประเทศไทยระบบ Digital Vector ที่มีความละเอียดสูงถึง 1:4000 และ 1: 20000

ข้อควรระวังของการนำเทคโนโลยีมาใช้ การพัฒนาพนักงานขับรถเป็นเรื่องสำคัญยิ่ง ไม่ว่าจะเป็นการปลูกจิตสำนึกเรื่องความ ปลอดภัย การเข้มงวดกวดขันในเรื่องแอลกอฮอล์และสารเสพติด การรู้จักใช้เทคโนโลยีที่ เกี่ยวข้อง และการมีคุณภาพชีวิตที่ดี เรื่องเหล่านี้ควรจะต้องมีการลงทุนควบคู่กันไปด้วย บางองค์กรมีการจัดตั้งศูนย์อบรมและทดสอบสมรรถนะคนขับ มีแผนงานด้านนี้ชัดเจน และเป็นรูปธรรม ผู้ว่าจ้างก็มีความมั่นใจที่จะมีพันธมิตรที่มีคุณภาพมาร่วมงานในระยะ ยาวต่อไป

ระบบ GPS ในการคำนวณเส้นทาง