พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 09/23/98 สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ MENU STOP
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 โดย : นายเยี่ยมศักดิ์ คุ้มอินทร์ 09/23/98 สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ MENU STOP
ขอบเขตคำบรรยาย หลักการ&เจตนารมณ์ โครงสร้างกฎหมาย นิยาม และประเภทข้อมูล 1 หลักการ&เจตนารมณ์ โครงสร้างกฎหมาย นิยาม และประเภทข้อมูล 2 สิทธิ&หน้าที่ 4 3 ความรับผิด ของเจ้าหน้าที่ ประโยชน์ และผลกระทบ 5 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารของราชการ หน้าที่ของหน่วยงาน สิทธิของประชาชน STOP E
10 ก.ย. 40 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 9 ธ.ค. 40 มีผลใช้บังคับ ความเป็นมา 10 ก.ย. 40 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 9 ธ.ค. 40 มีผลใช้บังคับ MENU STOP
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ พ.ศ. 2542 พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 MENU STOP
รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ม. 58 บัญญัติว่า รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ม. 58 บัญญัติว่า “ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับทราบข้อมูล หรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น เว้นแต่การเปิดเผยข้อมูลนั้นจะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชนหรือส่วนได้เสียอันพึงได้รับความคุ้มครองของบุคคลอื่น ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ ” MENU STOP
รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ม. 34 บัญญัติว่า รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ม. 34 บัญญัติว่า “สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว ย่อมได้รับความคุ้มครอง การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย ซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่าด้วยวิธีใด ไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัวจะกระทำมิได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน” ” MENU STOP
ปรัชญาแห่งกฎหมาย “ รัฐรู้อะไร ประชาชนต้องรู้ในสิ่งนั้น” MENU STOP “ รัฐรู้อะไร ประชาชนต้องรู้ในสิ่งนั้น” ภายใต้สิทธิเสรีภาพตามขอบเขตของ กม. โดยให้องค์กร ปชช. มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร MENU STOP
เจตนารมณ์แห่ง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ กำหนดสิทธิได้รู้ของประชาชนให้แจ้งชัด ระบบราชการ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ป้องกันการทุจริต ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง สามารถคุ้มครองตนเอง &ใช้สิทธิทางเมืองได้ถูกต้อง MENU STOP
หลักการของกฎหมาย . การเปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น . การเปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น + ให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล / “สิทธิรับรู้” ไม่ต้องมีส่วนได้เสีย MENU STOP
วิธีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร & การลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา การจัดให้ประชาชนได้ตรวจดู - การบริการตามคำขอเฉพาะราย มีกฎหมายเฉพาะกำหนดวิธีการเปิดเผยไว้ (ม.10) หมายเหตุ : หากมีส่วนที่ต้องห้ามมิให้เปิดเผย ให้ลบ / ตัดทอนข้อความส่วนนั้น MENU END
โครงสร้างของกฎหมาย - หลักทั่วไป - หลักทั่วไป - หมวด 1 : ข้อมูลข่าวสารทั่วไป & การเปิดเผย - หมวด 2 : ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย - หมวด 3 : ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล - หมวด 4 : เอกสารประวัติศาสตร์ - หมวด 5 : คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ - หมวด 6 : คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร - หมวด 7 : บทกำหนดโทษ - บทเฉพาะกาล MENU STOP
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เอกสารประวัติศาสตร์ มาตรา 7 (ลงพิมพ์ราชกิจจาฯ) มาตรา 9 (ตรวจดูได้เอง) มาตรา 26 ราชกิจจาฯ มาตรา 11 (ยื่นคำขอเฉพาะราย) สขร. กลุ่มวิชาการ. กลุ่ม ปชส. กลุ่มนโยบายฯ XXXXXXX XXXXX มาตรา 15 ลับ มาตรา 24 ข้อมูลส่วนบุคคล MENU STOP
นิยามความหมาย ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสารของราชการ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล หน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการ MENU STOP
ประเภทของข้อมูลข่าวสารราชการ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องเปิดเผยเป็นการทั่วไป ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล เอกสารประวัติศาสตร์ MENU STOP
ข้อมูลข่าวสารที่ต้องเปิดเผยเป็นการทั่วไป ข้อมูลตาม ม.7 : ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ข้อมูลตาม ม.9 : จัดเตรียมไว้ในสถานที่ที่กำหนด ข้อมูลราชการอื่นทั่วไป : ให้ประชาชนยื่นคำขอ MENU Sub Menu STOP
ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลตาม ม.14 : ห้ามเปิดเผย (ข้อมูลเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์) ข้อมูลตาม ม.15 : ใช้ดุลยพินิจเปิด / ปิด ได้ (มี 7 ลักษณะ) ข้อมูลตาม ม.16 : ดุลยพินิจ + ระเบียบฯความลับ (เอกสารลับ) MENU Sub Menu STOP
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง : เจ้าของมีสิทธิ 100% ข้อมูลของผู้อื่น : ห้ามเปิดเผย มีข้อยกเว้นให้เปิดเผยได้ตาม ม. 24 1. เจ้าของข้อมูลยินยอมเป็นหนังสือ 2. ต่อหอจดหมายเหตุเพื่อเก็บรักษา 3. ต่อเจ้าหน้าที่เพื่อป้องกันการฝ่าฝืนกฎหมาย 4. กรณีจำเป็นเพื่อป้องกัน / ระงับปัญหาของบุคคล 5. ต่อบุคคลที่มีอำนาจตามกฎหมาย MENU Sub Menu STOP
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล : องค์ประกอบ ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่ง เฉพาะตัวของบุคคล ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล มีสิ่งบอกลักษณะ ที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้นได้ MENU Sub Menu STOP
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล สิ่งเฉพาะตัวบุคคล สิ่งที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้น เช่น เช่น ฐานะการเงิน ชื่อ-นามสกุล การศึกษา ลายพิมพ์นิ้วมือ ประวัติสุขภาพ แผ่นบันทึกลักษณะเสียง ประวัติอาชญากรรม รูปภาพ ประวัติการทำงาน ฯลฯ MENU Sub Menu STOP
จัดให้มีเท่าที่เกี่ยวกับข้อง / จำเป็นยกเลิกเมื่อหมดความจำเป็น การปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล มาตรา 23 จัดให้มีเท่าที่เกี่ยวกับข้อง / จำเป็นยกเลิกเมื่อหมดความจำเป็น เก็บข้อมูลจากเจ้าของข้อมูล จัดพิมพ์ประเภทในราชกิจจานุเบกษา MENU Sub Menu STOP
ส่งมอบหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เมื่อครบกำหนด 75 ปี (มาตรา 14) เอกสารประวัติศาสตร์ มาตรา 26 ส่งมอบหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เมื่อครบกำหนด 75 ปี (มาตรา 14) 20 ปี (มาตรา 15) * ขอขยายเวลา ได้ คราวละ 5 ปี * ผู้มีอำนาจฯ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 3 ขอเก็บไว้เองก็ได้ MENU Sub Menu STOP
ข้อมูลของหน่วยงานอื่น ให้หน่วยงานที่รับคำขอให้ คำแนะนำ เพื่อไปยื่น คำขอต่อหน่วยงานที่ควบคุมดูแล ข้อมูลนั้น โดยไม่ชักช้า หากข้อมูลมีการกำหนดชั้นความลับได้ ให้ส่งคำขอนั้น ให้หน่วยงานผู้จัดทำข้อมูล นั้น… (มาตรา 12) MENU Sub Menu STOP
ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อผู้อื่น หากเปิดเผยข้อมูลที่อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใดให้แจ้งผู้นั้นคัดค้านการเปิดเผยภายในกำหนด การไม่รับฟังคำคัดค้าน ทำให้มีสิทธิอุทธรณ์ได้ (มาตรา 17) MENU Sub Menu STOP
ประโยชน์ของ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ ด้านการเมือง ระบบราชการ ด้านธุรกิจเอกชน ประชาชน การศึกษา ประโยชน์ของ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ ประโยชน์ MENU STOP
ปัญหาที่เกิดจากการใช้สิทธิเพื่อเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ 1. ไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารฯ 2. ไม่จัดข้อมูลข่าวสารฯ ให้ตรวจดู 3. ไม่จัดหาข้อมูลข่าวสารฯ ให้ตามที่ขอ 4. อ้างว่าไม่มีข้อมูลข่าวสารฯ 5. ปฏิบัติงานล่าช้า 6. ผู้ขอไม่ได้รับความสะดวกโดยไม่มีเหตุอันควร 7. ฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ 8. มีคำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารฯ MENU END 9. มีคำสั่งไม่ฟังคำคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารฯ 10. มีคำสั่งไม่เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือลบข้อมูลข่าวสารฯ
สิทธิของประชาชนตามกฎหมาย สิทธิ “ได้รู้” ม. 7, 9, 11, 25 และ 26 สิทธิ “ได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง” ม. 12 สิทธิ “คัดค้านการเปิดเผย” ม. 17 สิทธิ “ร้องเรียน” ม. 13 สิทธิ “อุทธรณ์คำสั่งไม่เปิดเผย” ม. 18 MENU STOP
สิทธิได้รู้ : จำแนกได้ ดังนี้ สิทธิได้รู้ : จำแนกได้ ดังนี้ สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารตาม ม. 7 สิทธิเข้าตรวจดูข้อมูลข่าวสารตาม ม.9 สิทธิขอดูข้อมูลข่าวสารตาม ม.11 สิทธิได้รู้ข้อมูลส่วนบุคคลของตน ม. 25 สิทธิในการศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลประวัติศาสตร์ ม. 26 Sub Menu MENU STOP
ค้นดู จากราชกิจจานุเบกษา ม. 7 หรือ โดยวิธีอื่นตาม ม. 10 วิธีการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชน ค้นดู จากราชกิจจานุเบกษา ม. 7 หรือ โดยวิธีอื่นตาม ม. 10 ตรวจดู ได้ด้วยตนเองในสถานที่ที่กำหนด ม. 9 ยื่นคำขอดู เฉพาะเรื่อง เฉพาะราย ม.11 MENU STOP
หลักเกณฑ์การใช้สิทธิขอดูข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 11 1. มีคำขอ โดยวาจา / ทำเป็นหนังสือ ฯลฯ 2. ต้องระบุข้อมูลข่าวสารพอเข้าใจได้ 3. เป็นข้อมูลข่าวสารทั่วไปนอกเหนือจาก ม.7 และ ม.9 4. เป็นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้ว 5. อาจจัดทำให้ใหม่ก็ได้ หากมิใช่เพื่อประโยชน์การค้า หรือเพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิของบุคคล Sub Menu MENU END
สิทธิได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง มาตรา 12 ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา 11 - ที่อยู่ในความควบคุมดูแลของส่วนกลางหรือส่วนสาขาของหน่วยงาน - หรืออยู่ในความควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น ให้หน่วยงานของรัฐที่รับคำขอให้คำแนะนำเพื่อไปยื่นคำขอต่อหน่วยงาน ของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่าวสารนั้นโดยไม่ชักช้า Sub Menu MENU STOP
สิทธิคัดค้านการเปิดเผย มาตรา 17 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้น เสนอคำคัดค้านภายในเวลาที่กำหนด ซึ่งต้องไม่น้อยกว่า 15 วัน หรือผู้ที่ทราบว่าการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบถึง ประโยชน์ได้เสียของตน มีสิทธิคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้ โดยทำเป็นหนังสือถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบ Sub Menu MENU STOP
สิทธิคัดค้านการเปิดเผย (ต่อ) ในกรณีที่มีการคัดค้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบต้องพิจารณา คำคัดค้านและแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้คัดค้านทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่คำสั่งไม่รับฟ้งคำคัดค้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารนั้นมิได้จนกว่าจะล่วงพ้นกำหนดเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา 18 หรือจนกว่าคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้มีคำวินิจฉัย ให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้ แล้วแต่กรณี Sub Menu MENU END
สิทธิร้องเรียนเจ้าหน้าที่ / หน่วยงานของรัฐ การไม่ปฏิบัติ / ฝ่าฝืน พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ การปฏิบัติล่าช้า ไม่ได้รับความสะดวก โดยไม่มีเหตุอันสมควร Sub Menu MENU END
สิทธิอุทธรณ์ คำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้าน ตามมาตรา 17 คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูล ตามมาตรา 15 คำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้าน ตามมาตรา 17 คำสั่งไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล ตามมาตรา 25 Sub Menu MENU END
หน้าที่ของหน่วยงาน ทำให้ประชาชนได้รับสิทธิ โดยถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด พัฒนาระบบการจัดเก็บและการรักษาความปลอดภัย ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน ให้บริการที่เป็นเลิศด้านข้อมูลข่าวสาร กำหนด และเรียกเก็บค่าธรรมเนียม MENU STOP
หน้าที่หน่วยงานของรัฐ 1. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร : มาตรา 7, 9 และ 11 2. ปกปิด / คุ้มครองข้อมูล : มาตรา 14, 15, 16 และ 24 3. แจ้งผู้มีผลกระทบประโยชน์ได้เสีย (พิจารณาคัดค้าน) : มาตรา 17 4. จัดระบบข้อมูลส่วนบุคคล : มาตรา 23 : มาตรา 25 5. เปิดเผย / แก้ไขข้อมูลส่วนบุคคล MENU 6. ส่งมอบเอกสารประวัติศาสตร์ : มาตรา 26 7. ชี้แนะ ให้คำแนะนำโดยไม่ชักช้า : มาตรา 12
การแปลงหน้าที่ตามกฎหมายสู่การปฏิบัติ ในระดับผู้บริหารของหน่วยงาน กำหนดเป็นนโยบายสำคัญของหน่วยงาน อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบดำเนินการ กำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์ และค่าธรรมเนียม จำแนกประเภทข้อมูลข่าวสาร การจัดทำคู่มือปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติตามกฎหมาย และให้บริการประชาชนที่มาใช้สิทธิ ควบคุม กำกับ ติดตาม และรายงาน MENU
คู่มือการปฏิบัติ การให้บริการขั้นตอนต่างๆ กำหนด แบบฟอร์มต่างๆ กำหนด ขั้นตอน/กระบวนการ ร้องเรียน /อุทธรณ์ กำหนด ผู้รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอน จัดทำข้อแนะนำ /ตัวอย่างคำถาม-คำตอบ การรายงาน /ประเมินผล MENU
ประกาศฯ เรื่องการเรียกค่าธรรมเนียมขอสำเนา ประกาศฯ เรื่องการเรียกค่าธรรมเนียมขอสำเนา (1) ขนาดกระดาษ เอ 4 ไม่เกิน 1 บาท (2) ขนาดกระดาษ เอฟ 14 ไม่เกิน 1.50 บาท (3) ขนาดกระดาษ บี 4 ไม่เกิน 2 บาท (4) ขนาดกระดาษ เอ 3 ไม่เกิน 3 บาท (5) ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ 2 ไม่เกิน 8 บาท (6) ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ 1 ไม่เกิน 15 บาท (7) ขนาดกระดาษพิมพ์เขียว เอ 0 ไม่เกิน 30 บาท MENU STOP
กระบวนการขอข้อมูลข่าวสารของราชการ คำขอ พิจารณา / การเตรียมการ ทำคำสั่งเปิดหรือไม่เปิดเผยข้อมูล อุทธรณ์คำสั่ง / ร้องเรียน การพิจารณาของคณะกรรมการ MENU STOP วินิจฉัยให้แก้ไข / ยืนยันคำสั่ง
คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ 1. สอดส่องดูแลและแนะนำ 2. ให้คำปรึกษาแก่ เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงาน 3. เสนอแนะในการตรากฎและระเบียบ 4. พิจารณาและให้ความเห็นเรื่องร้องเรียน 5. ทำรายงานเสนอคณะรัฐมนตรี MENU STOP 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร สาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับ- ใช้กฎหมาย (แบ่งเป็น 4 องค์คณะ) สาขาเศรษฐกิจและการคลังของประเทศ สาขาต่างประเทศและความมั่นคงของประเทศ MENU STOP สาขาการแพทย์และสาธารณสุข สาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรมและการเกษตร
สขร. www.oic.go.th สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล ถนนพิษณุโลก เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 281-8552, 282-1366 โทรสาร 281-8543 MENU www.oic.go.th STOP
บทกำหนดโทษ ข้อจำกัด (มาตรา 41) C การฝ่าฝืน มาตรา 32 (มาตรา 40) MENU STOP
ความรับผิดทางกฎหมาย 1. ความรับผิดทางวินัย 2. ความรับผิดทางอาญา 1. ความรับผิดทางวินัย 2. ความรับผิดทางอาญา 3. ความรับผิดทางแพ่ง MENU
ข้อยกเว้นความรับผิด (มาตรา 20) 1. เจ้าหน้าที่ทำโดยสุจริต และ 2. ปฏิบัติตามระเบียบที่หน่วยงานกำหนด และตามระเบียบการรักษาความลับของราชการ 3. เปิดเผยในฐานะเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ กฎกระทรวงให้อำนาจ MENU STOP
ความเสียหายจากเจ้าหน้าที่ การปฏิบัติหน้าที่ ไม่ใช่การปฏิบัติหน้าที่ หน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ไม่จงใจ / ประมาทธรรมดา จงใจ / ประมาทร้ายแรง บางส่วน - ความบกพร่องของหน่วยงาน - ระบบการดำเนินงานส่วนรวม เต็มจำนวน แต่เฉพาะส่วนของตน
บันได 3 ขั้น ของการป้องกันตน { การแจ้งผู้มีส่วนได้เสียคัดค้าน ม.17 { กระทำโดยสุจริต และตามกฎหมาย ม.20 { กำหนดเงื่อนไขการเปิดเผยเพื่อมิให้รุกล้ำ ความเป็นอยู่ส่วนตัว / ละเมิดผู้อื่น MENU
สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ขอบคุณครับ ขอบคุณ 4/18/2019 สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ MENU END
ความหมายของข้อมูลข่าวสารของราชการ ความหมายของข้อมูลข่าวสารของราชการ ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 “ข้อมูลข่าวสาร” หมายความว่า สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จ ข้อมูลหรือสิ่งใด ๆ ไม่ว่าจะสื่อความหมายนั้นจะทำได้โดยสภาพของ สิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใด ๆ และไม่ว่าจะได้จัดทำไว้ในรูปของ เอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่ายฟิล์ม การบันทึกภาพ หรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร์หรือวิธีอื่น ใดที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ปรากฏได้ “ข้อมูลข่าวสารของราชการ” หมายความว่า ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความ ครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน MENU
หลักการและเหตุผลของพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 ในระบอบประชาธิปไตย การให้ประชาชนมีโอกาสกว้างขวาง ในการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินการต่าง ๆ ของรัฐเป็น สิ่งจำเป็น เพื่อที่ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิ ทางการเมืองได้โดยถูกต้องกับความเป็นจริง อันเป็นการส่งเสริมให้ มีความเป็นรัฐบาลโดยประชาชนมากขึ้น สมควรกำหนดให้ประชาชน มีสิทธิได้รู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ ทั้งนี้ เพื่อที่จะปกปักรักษา ประโยชน์ของตนประการหนึ่ง กับสมควรคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลใน ส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของราชการไปพร้อม อีกประการหนึ่ง MENU
หลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจ 1. กระบวนการก่อนออกคำสั่ง 2. หลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจ 3. การออกคำสั่ง และการคุ้มครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐ
กระบวนการก่อนออกคำสั่ง คำสั่งทางปกครอง ต้องให้คู่กรณีได้ทราบข้อเท็จจริง อย่างเพียงพอ มีโอกาสโต้แย้ง (วิปกครอง ม. 30) กระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ต้องให้โอกาส คัดค้าน (ม. 17) กรณีข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ต้องได้รับความยินยอม (ม. 24)
หลักเกณฑ์ในการใช้ดุลพินิจ - อำนาจในการใช้ดุลพินิจ ไม่ใช่สิทธิเสรีภาพที่เจ้าหน้าที่จะตัดสินใจว่า จะใช้ดุลพินิจหรือไม่ แต่อำนาจดุลพินิจเป็นหน้าที่ ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องตัดสินใจอย่างอิสระ - ต้องใช้ดุลพินิจอย่างเสมอภาค - การใช้ดุลพินิจไม่ใช่เป็นเรื่องใช้อำนาจตามอำเภอใจ แต่ต้องใช้อย่างมีเหตุผล
แนวทางในการควบคุมการใช้ดุลพินิจ 1. หลักแห่งความเหมาะสม 2. หลักแห่งความจำเป็น 3. หลักแห่งความได้สัดส่วน
ขั้นตอนการใช้ดุลพินิจ 1. พิจารณาถึงผลดี ผลเสีย ผลกระทบ 2. ชั่งน้ำหนักผลดีกับผลเสีย ผลกระทบ 3. ตัดสินใจเปิดเผยหรือไม่เปิดเผย
การร้องเรียน ขั้นตอนการร้องเรียน 1. พิจารณาว่าพฤติการณ์หรือการปฏิบัติของหน่วยงาน ของรัฐมีลักษณะดังต่อไปนี้หรือไม่ (1) ไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารลงในราชกิจจานุเบกษา (2) ไม่จัดข้อมูลข่าวสารไว้ให้ประชาชนตรวจดู (3) ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายนี้ (4) ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า (5) ปฏิเสธว่าไม่มีข้อมูลตามที่ขอ (6) ไม่อำนวยความสะดวก 2. ยื่นหนังสือร้องเรียน 3. รอฟังผลการพิจารณา
ข้อความที่ควรระบุในหนังสือร้องเรียน 1. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ร้องเรียน 2. รายละเอียดของหน่วยงาน 3. เอกสารประกอบ
การอุทธรณ์ อุทธรณ์ได้ 3 กรณี 1. ยื่นคำขอแล้วหน่วยงานไม่เปิดเผย (ม. 18) 2. เจ้าหน้าที่ไม่รับฟังคำคัดค้านนี้ (ม. 17 วรรคสาม, ม.18) 3. หน่วยงานรัฐไม่แก้ไขตามคำขอ (ม 25 วรรคสี่)
ขั้นตอนการอุทธรณ์ 1. พิจารณาว่าหน่วยงานของรัฐมีพฤติการณ์ ดังนี้หรือไม่ มีคำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลตามที่ขอ ไม่รับฟังคำคัดค้าน ไม่แก้ไขข้อมูลตามที่ขอ 2. ยื่นหนังสืออุทธรณ์ต่อ สขร. 3. รอฟังผลภายใน 60 วัน
มาตรา 7 (1) โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดำเนินงาน หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของ ราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (1) โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดำเนินงาน (2) สรุปอำนาจหน้าที่ที่สำคัญและวิธีการดำเนินงาน (3) สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสาร หรือคำแนะนำ ในการติดต่อกับหน่วยงานของรัฐ (4) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะที่จัดให้มีขึ้นโดยมีสภาพอย่างกฎ เพื่อให้ มีผลเป็นการทั่วไปต่อเอกชนที่เกี่ยวข้อง Sub Menu MENU
มาตรา 7 (5) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกำหนด ข้อมูลข่าวสารใดที่ได้มีการจัดพิมพ์เพื่อให้แพร่หลายตามจำนวนพอสมควรแล้ว ถ้ามีการลงพิมพ์ในราชกิจจา- นุเบกษาโดยอ้างอิงถึงสิ่งพิมพ์นั้นก็ให้ถือว่าเป็นการปฏิบัติตามบทบัญญัติวรรคหนึ่งแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐรวบรวม และจัดให้มีข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไว้เผยแพร่เพื่อขายหรือจำหน่วยจ่ายแจก ณ ที่ทำการของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นตามที่เห็นสมควร Sub Menu MENU
มาตรา 9 ภายใต้บังคับมาตรา 14 และมาตรา 15 หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการกำหนด (1) ผลการพิจารณาหรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน รวมทั้งความเห็นแย้งและคำสั่งที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาวินิจฉัย (2) นโยบายหรือการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจา-นุเบกษาตามมาตรา 7 (4) (3) แผนงานโครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจำปีของปีที่กำลังดำเนินการ Sub Menu MENU
มาตรา 9 (ต่อ) (4) คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน (5) สิ่งพิมพ์ที่ได้มีการอ้างอิงถึงตามมาตรา 7 วรรคสอง (6) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุนกับเอกชนในการจัดทำบริการสาธารณะ (7) มติคณะรัฐมนตรี หรือ มติคณะกรรมการ ที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ให้ระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่นำมาใช้ในการพิจารณาไว้ด้วย Sub Menu MENU
มาตรา 9 (ต่อ) (8) ข้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกำหนด ข้อมูลข่าวสารที่จัดให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ตามวรรคหนึ่ง ถ้ามีส่วนที่ต้องห้ามมิให้เปิดเผย ตามมาตรา 14 หรือมาตรา 15 อยู่ด้วย ให้ลบหรือตัดทอนหรือทำโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็นการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนนั้น Sub Menu MENU
คนต่างด้าวจะมีสิทธิตามมาตรานี้เพียงใดให้เป็นไปตามที่กำหนดโดยกฎกระทรวง มาตรา 9 (ต่อ) บุคคลไม่ว่าจะมีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ก็ตาม ย่อมมีสิทธิเข้าตรวจดู ขอสำเนาหรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งได้ ในกรณีที่สมควรหน่วยงานของรัฐโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการจะวางหลักเกณฑ์เรียกค่าธรรมเนียมในการนั้นก็ได้ ในการนี้ ให้คำนึงถึงการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยประกอบด้วย ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น คนต่างด้าวจะมีสิทธิตามมาตรานี้เพียงใดให้เป็นไปตามที่กำหนดโดยกฎกระทรวง Sub Menu MENU
มาตรา 11 นอกจากข้อมูลข่าวสารของราชการที่ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว หรือที่จัดไว้ให้ประชา-ชนเข้าตรวจดูได้แล้ว หรือที่มีการจัดให้ประชาชนได้ค้นคว้า ตามมาตรา 26 แล้ว ถ้าบุคคลใดขอข้อมูลข่าวสารอื่นใดของราชการ และคำขอของผู้นั้นระบุข้อมูลข่าวสาร ที่ต้องการในลักษณะที่อาจเข้าใจได้ตามควร ให้หน่วยงานของรัฐผู้รับผิดชอบจัดหาข้อมูลข่าวสารนั้นให้แก่ผู้ขอ ภายในเวลาอันสมควรเว้นแต่ผู้นั้นขอจำนวนมากหรือ บ่อยครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร Sub Menu MENU
มาตรา 11 (ต่อ) ข้อมูลข่าวสารของราชการใดมีสภาพที่อาจบุบสลายง่าย หน่วยงานของรัฐจะขอขยายเวลาในการจัดหาให้หรือจะจัดทำสำเนาให้ในสภาพอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่ข้อมูลข่าวสารนั้นก็ได้ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐจัดหาให้ตามวรรคหนึ่งต้องเป็นข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้วในสภาพที่พร้อมจะให้ได้ มิใช่เป็นการต้องไปจัดทำ วิเคราะห์ จำแนก รวบรวม หรือจัดให้มีการขึ้นใหม่ เว้นแต่เป็นการแปร Sub Menu MENU
มาตรา 11 (ต่อ) สภาพเป็นเอกสารจากข้อมูลข่าวสารที่บันทึกไว้ในระบบการบันทึกภาพหรือเสียง ระบบคอมพิวเตอร์ หรือระบบอื่นใด ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการกำหนด แต่ถ้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่ากรณีที่ขอนั้นมิใช่การแสวงหาผลประโยชน์ทางการค้า และเป็นเรื่องที่จำเป็นเพื่อ ปกป้องสิทธิเสรีภาพสำหรับผู้นั้นหรือเป็นเรื่องที่จะเป็นประโยชน์แก่สาธารณะ หน่วยงานของรัฐจะจัดหาข้อมูลข่าวสารนั้นให้ก็ได้ บทบัญญัติวรรคสามไม่เป็นการห้าม Sub Menu MENU
มาตรา 11 (ต่อ) ข่าวสารนั้นให้ก็ได้ บทบัญญัติวรรคสามไม่เป็นการห้ามหน่วยงานของรัฐที่จะจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการใดขึ้นใหม่ให้แก่ผู้ร้องขอหากเป็นการสอดคล้องด้วยอำนาจหน้าที่ตามปกติของหน่วยงานของรัฐนั้นอยู่แล้ว ให้นำความในมาตรา 9 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใช้บังคับแก่การจัดหาข้อมูลข่าวสารให้ตามมาตรานี้ โดยอนุโลม Sub Menu MENU
มาตรา 26 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐ ไม่ประสงค์จะเก็บรักษา หรือ มีอายุครบกำหนด ตามวรรคสองนับแต่วันที่เสร็จสิ้นการจัดให้มีข้อมูล ข่าวสารนั้นให้หน่วยงานของรัฐส่งมอบให้แก่หอ จดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากรหรือ หน่วยงานอื่นของรัฐตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาเพื่อคัดเลือกไว้ให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้า Sub Menu MENU
มาตรา 26 (ต่อ) กำหนดเวลาต้องส่งข้อมูลข่าวสารของ ราชการตามวรรคหนึ่งให้แยกตามประเภท ดังนี้ (1) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา 14 เมื่อ ครบเจ็ดสิบห้าปี (2) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามมาตรา 15 เมื่อ ครบยี่สิบปี Sub Menu MENU
กำหนดเวลาตามวรรคสอง อาจขยายออกไปได้ในกรณีดังต่อไปนี้ มาตรา 26 (ต่อ) กำหนดเวลาตามวรรคสอง อาจขยายออกไปได้ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) หน่วยงานของรัฐยังจำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารของราชการไว้เองเพื่อประโยชน์ในการใช้สอย โดยต้องจัดเก็บและจัดให้ประชาชนได้ศึกษาค้นคว้าตามที่ตกลงกับหอ จดหมายเหตุแห่งชาติกรมศิลปากร (2) หน่วยงานของรัฐเห็นว่า ข้อมูลข่าวสารของ ราชการนั้น ยังไม่ควรเปิดเผยโดยมีคำสั่งขยายเวลากำกับไว้ เป็นการเฉพาะราย คำสั่งการขยายเวลานั้นให้กำหนด ระยะเวลาไว้ด้วย แต่จะกำหนดเกิดคราวละห้าปีไม่ได้ Sub Menu MENU
มาตรา 26 (ต่อ) การตรวจสอบหรือทบทวนมิให้มีการขยายระยะเวลาไม่เปิดเผยจนเกินความจำเป็นให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง บทบัญญัติตามมาตรานี้มิให้ใช้บังคับกับข้อมูล ข่าวสารของราชการตามที่คณะรัฐมนตรีออกระเบียบกำหนด ให้หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐจะต้องทำลายหรือ อาจทำลายได้โดยไม่ต้องเก็บรักษา Sub Menu MENU
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล เจ้าของหรือผู้มีสิทธิ หน้าที่จัดข้อมูล (ม.๒๓-๒๕) 1. จัดให้มีระบบข้อมูลเท่าที่จำเป็น 2. พยายามเก็บข้อมูลโดยตรง 3. จัดให้พิมพ์ในราชกิจจาฯ 4. ตรวจสอบแก้ไขให้ถูกต้องอยู่เสมอ 5. จัดระบบรักษาความปลอดภัย 6. จัดให้มีบัญชีแสดงการเปิดเผยฯ MENU
สิทธิร้องเรียน และ อุทธรณ์ ตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร ร้องเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ 1. ไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสาร 2. ไม่จัดข้อมูลข่าวสารให้ตรวจดู 3. ไม่จัดหาข้อมูลข่าวสารให้ตามที่ขอ 4. ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม พ.ร.บ.นี้ 5. ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า 6. เอกชนไม่ได้รับความสะดวกโดยไม่มีเหตุ อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ๑) คำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ๒) คำสั่งไม่ฟังคำคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตาม ม.๑๗ ๓) คำสั่งไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตาม ม.๒๕ MENU
หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐและสิทธิของประชาชน ส่งข้อมูลลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ขอคำปรึกษา ตรวจดูข้อมูล จัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู ขอข้อมูลข่าวสารอื่นใดของราชการ จัดหาให้ประชาชนเป็นการเฉพาะราย ได้รู้ถึงข้อมูลส่วนบุคคลของตน แนะนำแหล่งที่เก็บข้อมูล ดำเนินการแทนผู้เยาว์ อาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูล ร้องเรียน อุทธรณ์
ประชาชน หน่วยงาน สังคม มีส่วนร่วมทางการเมืองได้โดยตรง แสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงาน โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีภาพลักษณ์ที่ดี การทำงานมีประสิทธิภาพ สังคม ค่านิยมและวิถีปฏิบัติทางสังคม ส่งเสริมความคิดพื้นฐานของสังคมประชาธิปไตย
ประเด็นการพิจารณาเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ของราชการแก่ประชาชน 1. เป็นคำขอตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ หรือไม่ (ม. 3) 2. ผู้รับคำขอเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้มีอำนาจหน้าที่ ตามกฎหมายหรือไม่ (ม. 4) 3. ข้อมูลที่ขอเป็นข้อมูลของทางราชการหรือไม่ (ม. 4 / ม. 11 วรรคสาม) 4. ข้อมูลข่าวสารที่ขออยู่ในความดูแลของ ผู้รับคำขอหรือไม่ (ม 12)
5. ผู้ขอข้อมูลข่าวสารเป็นคนต่างด้าวหรือไม่ (ม.4 /ม. 9 วรรคสี่ /ม. 11 วรรคห้า /ม. 21) 6. ข้อมูลข่าวสารที่ขอเป็นข้อมูลข่าวสารที่หน่วยงานของรัฐ มีหน้าที่รักษาเป็นความลับหรือไม่ (ป. อาญา หรือกฎหมายเฉพาะ ม. 15) 7. คำสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารจะต้องระบุอะไรบ้าง (ม. 14 /ม. 40 พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการฯ) 8. การพิจารณาคำขอข้อมูลข่าวสารจะต้องดำเนินการ ให้เสร็จสิ้นในเวลานานเท่าใด(ม. 11 วรรคแรก)
ขั้นตอนการให้บริการ ขั้นเตรียมการ ขั้นดำเนินการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ ปรับปรุงระบบจัด เก็บข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล การส่งมอบข้อมูลข่าวสารที่ ไม่ประสงค์จะเก็บรักษา (ข้อมูลประวัติศาสตร์) เตรียมบุคลากร สถานที่ จำแนกข้อมูล ข่าวสารฯ ส่งข้อมูลข่าวสารฯ ลงพิมพ์ในราชกิจจาฯ (ม. 7) จัดหาข้อมูลข่าวสารให้แก่ประชาชนตามคำขอ (ม. 11) จัดข้อมูลข่าวสารของราชการให้ประชาชนเข้าตรวจดู (ม. 9)
ประเด็นปัญหาเพื่อการประชุมกลุ่ม กลุ่มที่ 1, 3 พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ ได้กำหนดให้หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่ต้อง ดำเนินการให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครอง ดูแล ตามสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการที่กฎหมายกำหนด ท่านคิดว่า หน่วยงานของท่าน น่าจะมีปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติ ตามกฎหมายฉบับนี้มากน้อยเพียงใด ในเรื่องอะไรบ้าง และในขั้นตอนใด พร้อมข้อเสนอแนวทางแก้ไขที่เป็นรูปธรรม
“เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น กลุ่มที่ 2, 4 จากหลักกฎหมายที่ว่า “เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น ขอให้รวมกันพิจารณาว่า ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความรับผิดชอบของท่าน มีเรื่องใดบ้างที่เห็นว่า ยังไม่ควรเปิดเผย พร้อมเหตุผลประกอบ