อรัญ ศรีว่องไทย 6 ตุลาคม 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประกันภัยรถยนต์.
Advertisements

สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
หลักเกณฑ์การจ่ายเงินช่วยเหลือเพื่อการชดเชย กรณีผู้ให้บริการได้รับความเสียหาย จากการให้บริการสาธารณสุข (มาตรา 18 (4))
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
โดย นายพิพัฒน์พงศ์ จิตต์เทพ
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
เอกสารการประกันภัย Insurance documents.
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
พระราชบัญญัติ แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ๒๐) พ
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
โดย... นางสาวปวีณ์ริศา เกณิกานนท์ นักวิชาการแรงงานชำนาญการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ (ฉบับที่ 3 - 5) พ.ศ (ฉบับที่
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
หุ้นส่วนและบริษัท การเป็นหุ้นส่วน คือ การทำสัญญาระหว่างบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อทำกิจการร่วมกัน โดยประสงค์จะแบ่งปันผลกำไรที่จะพึงได้จากกิจการนั้น.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
Welcome.. ข่าวประชาสัมพันธ์ กองคลัง สาระน่ารู้
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์พ่วงข้าง(ซาเล้ง)ฯ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อรัญ ศรีว่องไทย 6 ตุลาคม 2560 การประกันภัยรถยนต์ อรัญ ศรีว่องไทย 6 ตุลาคม 2560

การประกันภัย การประกันชีวิต การประกันวินาศภัย

การประกันวินาศภัย การประกันภัยรถยนต์ การประกันภัยทรัพย์สิน การประกันภัยทางทะเลและโลจิสติกส์ การประกันภัยเบ็ดเตล็ด

การประกันภัยรถยนต์ ภาคบังคับ ภาคสมัครใจ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ภาคบังคับ พิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ (2542) ภาคสมัครใจ

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ - บรรพ 3 - ลักษณะ 20 - ประกันภัย (มาตรา 861- 897 รวม 37 มาตรา)

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 861 อันว่าสัญญาประกันภัยนั้น คือสัญญา ซึ่งบุคคลคนหนึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้น หรือในเหตุอย่างอื่นในอนาคตดังได้ระบุไว้ในสัญญา และในการนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่าเบี้ยประกันภัย

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 867 อันว่าสัญญาประกันภัยนั้น ถ้ามิได้มีหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลง ลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือลายมือชื่อตัวแทนของฝ่ายนั้นเป็นสำคัญ ท่านว่าจะฟ้องร้องให้ บังคับคดีหาได้ไม่ ให้ส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยอันมีเนื้อความต้องตามสัญญานั้นแก่ผู้เอาประกันภัยฉบับหนึ่ง กรมธรรม์ประกันภัย ต้องลงลายมือชื่อของผู้รับประกันภัย และมีรายการดังต่อไปนี้ (1) วัตถุที่เอาประกันภัย (2) ภัยใดซึ่งผู้รับประกันภัยรับเสี่ยง (3) ราคาแห่งมูลประกันภัย ถ้าหากได้กำหนดกันไว้ (4) จำนวนเงินซึ่งเอาประกันภัย (5) จำนวนเบี้ยประกันภัย และวิธีส่งเบี้ยประกันภัย (6) ถ้าหากสัญญาประกันภัยมีกำหนดเวลา ต้องลงเวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดไว้ด้วย (7) ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับประกันภัย (8) ชื่อหรือยี่ห้อของผู้เอาประกันภัย (9) ชื่อของผู้รับประโยชน์ ถ้าจะพึงมี (10) วันทำสัญญาประกันภัย (11) สถานที่และวันที่ได้ทำกรมธรรม์ประกันภัย

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 887 อันว่าประกันภัยค้ำจุนนั้นคือ สัญญาประกันภัยซึ่งผู้รับประกันภัยตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทนในนามของผู้เอาประกันภัย เพื่อความวินาศภัยอันเกิดขึ้นแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง และซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบ บุคคลผู้ต้องเสียหายชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนที่ตนควรจะได้นั้นจากผู้รับประกันภัยโดยตรง แต่ค่าสินไหมทดแทนเช่นว่านี้หาอาจจะคิดเกินไปกว่าจำนวนอันผู้รับประกันภัยจะพึงต้องใช้ตามสัญญานั้นได้ไม่ ในคดีระหว่างบุคคลผู้ต้องเสียหายกับผู้รับประกันภัยนั้น ท่านให้ผู้ต้องเสียหายเรียกตัวผู้เอาประกันภัยเข้ามาในคดีด้วย อนึ่งผู้รับประกันภัยนั้นแม้จะได้ส่งค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัยแล้ว ก็ยังหาหลุดพ้นจากความรับผิดต่อบุคคลผู้ต้องเสียหายนั้นไม่ เว้นแต่ตนจะพิสูจน์ได้ว่าสินไหมทดแทนนั้นผู้เอาประกันภัยได้ใช้ให้แก่ผู้เสียหายแล้ว

2. สำหรับผู้ประสบภัย การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ความคุ้มครองความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยอันเกิดจากรถ 2. สำหรับผู้ประสบภัย - ค่ารักษาพยาบาล (ร่างกาย + อนามัย) ไม่เกิน 80,000.- บาท - ชีวิต / ทุพพลภาพ 300,000.- บาท - ค่าชดเชยรายวัน 4,000.- บาท ( 200 บาทต่อวัน ไม่เกิน 20 วัน กรณีเข้ารักษาในสถานพยาบาล ) ยกเว้น ผู้ขับขี่ที่เป็นฝ่ายผิด คุ้มครองเฉพาะค่าเสียหายเบื้องต้น

การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ความเสียหายต่อร่างกาย ( ทุพพลภาพ) / สูญเสียอวัยวะ ) 1. ตาบอด 2. หูหนวก 3. เป็นใบ้ หรือเสียความสามารถในการพูด หรือลิ้นขาด 4. สูญเสียอวัยวะสืบพันธุ์ 5. เสีย แขน ขา มือ เท้า นิ้ว หรืออวัยวะ อื่นใด 6. จิตพิการอย่างติดตัว 7. ทุพพลภาพอย่างถาวร

สูญเสียอวัยวะ / ทุพพลภาพถาวร กรณีผู้ประสบภัย ได้รับความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัย ในกรณีใดกรณีหนึ่ง บริษัทจะจ่ายเต็มตามจำนวนเงินคุ้มครอง ดังนี้  ความคุ้มครอง (บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมทดแทน) จำนวนเงินคุ้มครอง (บาท) ต่อหนึ่งคน 1. กรณีทุพพลภาพถาวร 300,000 2. กรณีสูญเสียมือสองข้างตั้งแต่ข้อมือ หรือแขนสองข้าง หรือเท้าสองข้างตั้งแต่ข้อเท้า หรือขาสองข้าง หรือสายตาสองข้าง (ตาบอด) 3. กรณีสูญเสียมือหนึ่งข้างตั้งแต่ข้อมือ แขนหนึ่งข้าง เท้าหนึ่งข้างตั้งแต่ข้อเท้า ขาหนึ่งข้าง สายตาหนึ่งข้าง (ตาบอด) ตั้งแต่ 2 กรณีขึ้นไป 4. กรณีสูญเสียมือหนึ่งข้างตั้งแต่ข้อมือ หรือแขนหนึ่งข้าง หรือเท้าหนึ่งข้างตั้งแต่ข้อเท้า หรือขาหนึ่งข้าง หรือสายตาหนึ่งข้าง (ตาบอด) กรณีใดกรณีหนึ่ง 250,000 5. กรณีหูหนวก เป็นใบ้ หรือเสียความสามารถในการพูดหรือลิ้นขาด สูญเสียอวัยวะสืบพันธ์หรือความสามารถสืบพันธุ์ จิตพิการอย่างติดตัว หรือเสียอวัยวะอื่นใด 6. กรณีสูญเสียนิ้วตึ้งแต่ข้อนิ้วขึ้นไป ไม่ว่านิ้วเดียวหรือหลายนิ้ว 200,000 กรณีได้รับความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัยหลายกรณี บริษัทจะจ่ายเต็มจำนวนเงินความคุ้มครองเฉพาะกรณีที่มีจำนวนเงินคุ้มครองที่สูงกว่า

การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ค่าเสียหายเบื้องต้น ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายอันจำเป็นเกี่ยวกับการรักษา ค่าปลงศพ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดการศพ รวมทั้งค่าเสียหาย และค่าใช้จ่ายจำเป็นเพื่อบรรเทาความเดือนร้อนของผู้ประสบภัยในเบื้องต้น

การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ค่าเสียหายเบื้องต้น ความเสียหายต่อร่างกาย ไม่เกิน 30,000.- บาท ความเสียหายต่อชีวิต/ทุพพลภาพ จำนวน 35,000.- บาท - กรณีบาดเจ็บแล้วเสียชีวิต รับทั้ง 1 และ 2 - ต้องจ่ายภายใน 7 วัน นับแต่ได้รับการร้องขอ โดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความรับผิด - ต้องร้องขอภายใน 180 วัน นับแต่วันเกิดเหตุ

พิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ 2. ประเภทความคุ้มครองและจำนวนเงินจำกัดความรับผิดพื้นฐาน 1. ความรับผิดต่อชีวิต ร่างกายหรืออนามัยของบุคคลภายนอก และผู้โดยสาร (TPBI ) จำนวนเงินส่วนเกิน พ.ร.บ.ฯ ขั้นต่ำ 100,000 บาทต่อคน 10,000,000 บาทต่อครั้ง

300,000.- บาท ต่อหนึ่งคน กรณีบุคคลภายนอกเสียชีวิต 07/16/96 กรณีบุคคลภายนอกเสียชีวิต ทำให้มีผู้ขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย จำนวนเงินความรับผิดพื้นฐาน 300,000.- บาท ต่อหนึ่งคน และ 10,000,000.- บาท ต่อหนึ่งครั้ง กรณีบุคคลภายนอกทุพพลภาพถาวร จำนวนเงินความรับผิดพื้นฐาน 300,000.- บาท ต่อหนึ่งคน *

ร่วมเฉลี่ยจ่ายเท่าๆ กัน 07/16/96 กรณีมีกรมธรรม์มากกว่า 1 ฉบับ ที่ต้องรับผิดชดใช้ บริษัทที่รับประกันภัยทุกบริษัท ร่วมเฉลี่ยจ่ายเท่าๆ กัน *

3. ผู้รับบุตรบุญธรรม กับบุตรบุญธรรม มาตรา 1598/28 ปพพ. 07/16/96 พิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ บุคคลที่มีหน้าที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูกันตามกฎหมาย 1. สามี ภริยา มาตรา 1461 วรรคสอง ปพพ. “สามีภริยาต้องช่วยเหลือ อุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถและฐานะของตน” 2. บิดามารดา และบุตร 3. ผู้รับบุตรบุญธรรม กับบุตรบุญธรรม มาตรา 1598/28 ปพพ. “ บุตรบุญธรรมย่อมมีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของผู้รับ บุตรบุญธรรมนั้น แต่ไม่สูญสิทธิและหน้าที่ในครอบครัวที่ได้กำเนิดมา” 4. ผู้ปกครองและผู้อยู่ในปกครอง ผู้ปกครองฝ่ายเดียวเท่านั้นที่มีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดู *

พิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ 2. ประเภทความคุ้มครองและจำนวนเงินจำกัดความรับผิดพื้นฐาน 2. ความรับผิดต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก ( TPPD ) จำนวนเงินขั้นต่ำ 200,000 บาทต่อครั้ง

พิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ “จำนวนเงินเอาประกันภัย ของ OD = F&T” อันเนื่องจากภัยทุกประเภท ยกเว้นที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ ขั้นต่ำ 50,000 บาท (ยกเว้นรถจักรยานยนต์ 5,000 บาท) รับประกันภัย 80% ของมูลค่าขณะเอาประกันภัย 4. ความเสียหายต่อตัวรถเนื่องจากไฟไหม้ และการสูญหาย (F&T) ขั้นต่ำ 50,000 บาท (ยกเว้นรถจักรยานยนต์ 5,000 บาท) รับประกันภัย 80% ของ มูลค่าขณะเอาประกันภัย “จำนวนเงินเอาประกันภัย ของ OD = F&T”

พิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ 3. ประเภทกรมธรรม์ประกันภัย กรมธรรม์ประเภท 3 ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (ชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน) กรมธรรม์ประเภท 2 ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (ชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน) รถยนต์สูญหาย ไฟไหม้ ประเภทกรมธรรม์ประกันภัย กรมธรรม์ประเภท 1 ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (ชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สิน) รถยนต์สูญหาย ไฟไหม้ ความเสียหายต่อรถยนต์ มี/ไม่มี ความคุ้มครองตามเอกสารแนบท้าย

พิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์ 3. ประเภทกรมธรรม์ประกันภัย กรมธรรม์ประเภท 4 ความรับผิดต่อทรัพย์สินของ บุคคลภายนอก (100,000 บาท) ประเภทกรมธรรม์ประกันภัย กรมธรรม์ประเภท 5 แบบคุ้มครองเฉพาะภัย มี/ไม่มี ความคุ้มครองตามเอกสารแนบท้าย

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 877 ผู้รับประกันภัยจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนดังจะกล่าว ต่อไปนี้ คือ (1) เพื่อจำนวนวินาศภัยอันแท้จริง (2) เพื่อความบุบสลายอันเกิดแก่ทรัพย์สินซึ่งได้เอาประกันภัย (3) เบื่อบรรดาค่าใช้จ่ายอันสมควรซึ่งได้เสียไปเพื่อรักษา ทรัพย์สินซึ่งเอาประกันภัยไว้นั้นมิให้วินาศ อันจำนวนวินาศจริงนั้น ท่านให้ตีราคา ณ สถานที่และในเวลาซึ่งเหตุวินาศภัยนั้นได้เกิดขึ้น อนึ่งจำนวนเงินซึ่งได้เอาประกันภัยไว้นั้น ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นหลักประมาณอันถูกต้องในการตีราคาเช่นว่านั้น ท่านห้ามมิให้คิดค่าสินไหมทดแทนเกินไปกว่าจำนวนเงินซึ่งเอาประกันภัยไว้