แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก (Qualify Examination : QE)
Advertisements

การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี
Workshop 5 การนิยามวัตถุประสงค์ จาก SLM และสร้างตัวชี้วัด.
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
หนังสือคู่มือของบริษัท เพิ่มสัญลักษณ์ของบริษัทที่นี่ เพื่อที่จะแทรกสัญลักษณ์ ของบริษัท ลงบน ภาพนิ่งนี้ จากเมนู ‘ แทรก ’ ให้เลือก ‘ รูปภาพ ’ ระบุตำแหน่งแฟ้ม.
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
PMQA Organization 2 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
MEDICAL RESPONSE TO MAJOR INCIDENTS (MRMI)
สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ.
Strategy Map วิสัยทัศน์ : “เป็นองค์การที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการและคุ้มครองสิทธิการถือครองที่ดินของรัฐและประชาชน มุ่งเน้นการให้บริการโดยบริหารจัดการที่ดี
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
Dr. Mano Choondee. By Director of Angthong
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
ระเบียบวาระการประชุม
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
การบริหารผลการปฏิบัติงาน
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
Line Manager is Leader.
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางเก็บตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2562
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
นโยบายการบริหารงาน ปี 2560
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
ผลงานตามโครงการพระราชดำริ โครงการ TO BE NUMBER ONE 1
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ A man’s dreams are an index to his greatness แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ทิศทางสำหรับพ.ศ. 2552-53

คำแนะนำสำหรับประเทศสมาชิก Regional Conference on Revitalizing Primary Health Care Jakarta, Indonesia, 6-8 August 2008 Recommendations for Member States : It was recommended that Member States shift from a focus on service delivery to a development oriented one in the country’s social, political and economic contexts. คำแนะนำสำหรับประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิก ควรเบนเข็มงานสาธารณสุขมูลฐาน จากวิถีการให้บริการไปสู่การพัฒนา ภายใต้บริบททางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศ

โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การเบนเข็มไปสู่การพัฒนา โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)

จากแนวคิด - คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา วิสัยทัศน์ “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” คำตอบอยู่ที่การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ จุดหมายปลายทาง แผนยุทธศาสตร์ กรรมการ (อปท/กองทุน) ย2. กระบวนการบริหารจัดการ ย1. สมรรถนะขององค์กร แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กำลังคน (ของชุมชน) กองทุน (สุขภาพตำบล) ย3. บทบาทภาคี (รัฐและเอกชน)

ขั้นตอนของการสร้างและใช้ แผนที่ยุทธศาสตร์ จากยุทธศาสตร์ขององค์กร ( สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์กลุ่มงาน Mini - SLM) นิยามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด ขั้นตอนของการสร้างและใช้ แผนที่ยุทธศาสตร์ ตั้งปณิธาน ตรวจสอบระบบ 1 2 3 4 5 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์และแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ 6 1 วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ 2 กำหนดจุดหมายปลายทาง (Destination) (1)สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ (2) ตรวจสอบกับยุทธศาสตร์ (3)สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)(4)ตรวจสอบโครงการ 3 (1) สร้างกลุ่มงาน (2) วางตัวผู้รับผิดชอบ 4 (1) สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) (2) สร้างตัวชี้วัด 5 ทดสอบระบบปฏิบัติการ 6 7 ตั้งปณิธานส่วนบุคคล

การแสดงจุดหมายปลายทางที่ชัดเจน ใช้เป็นเครื่องมือทำความเข้าใจกับผู้บริหาร ผู้จัดการ (Communication) เกิดการปรับเข้าหากัน(Alignment) ใช้เป็นเครื่องมือทำความตกลงในสิ่งที่จะดำเนินการ (Contracting) ฝ่ายต่างๆมองเห็นสิ่งที่อยู่ในวิสัยที่จะตอบสนองได้ การสื่อสาร + การมอบหมาย = การปรับเข้าหากัน

อปท.มีการสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง ผังจุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บูรณาการระหว่างกรมอนามัยกับกรมควบคุมโรค ภายในปี 2553 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชนสามารถเฝ้าระวังและติดตามสภาวะการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ประชาชนมีโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่พัฒนาขึ้นอย่างเหมาะสมกับบริบทและร่วมมือกันปฏิบัติการตามนั้น ประชาชนมีมาตรการทางสังคมเพื่อควบคุมหรือส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมหรือเหมาะสมตามแต่กรณี ประชาชนมีหน้าที่ควบคุมดูแลสภาวะแวดล้อมทั้งทางกายภาพและที่เป็นนามธรรมให้เอื้ออำนวยต่อการมีสุขภาพที่ดี ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) อปท.มีการสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง อสม./ผู้นำชุมชน/ประชาสังคมในพื้นที่สามารถพัฒนาชุมชนให้สามารถตัดสินใจและแสดงบทบาทการพัฒนาสุขภาพและสภาวะแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรมได้ ภาคีเครือข่ายการพัฒนาทุกระดับ(ระดับกรม/เขต/สสจ./อปท.) สนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง

ระดับกระบวนการ(มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) ผังจุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค บูรณาการระหว่างกรมอนามัยกับกรมควบคุมโรค ภายในปี 2553 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2552 ระดับกระบวนการ(มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการบริหารจัดการภาคีเครือข่ายทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบสนับสนุนการพัฒนาแบบบูรณาการ มีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการวางแผนงานโครงการพร้อมระบบกำกับติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการสื่อสารหลายรูปแบบที่เข้าถึงทุกครัวเรือน มีระบบการจัดการนวัตกรรมกระบวนการพัฒนาสุขภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร(มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) องค์กรมีคุณลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ข้อมูลสุขภาพและสังคมมีคุณภาพและทันสมัย ชุมชน บุคลากรและองค์กรร่วมมีกระบวนทัศน์และสมรรถนะที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลง

สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (Strategic Linkage Model - SLM) จากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์หลัก(ทำในระดับกรม/จังหวัด) ผู้บริหารเลือกทางเดินที่คาดว่าจะทำให้ไปถึงจุดหมายปลายทางที่สะดวกรวดเร็วที่สุด เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ภายในเวลาสั้นที่สุด แผนที่ฉบับนี้จะมีวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์จำนวนน้อยกว่าแผนที่หลัก เท่าที่จำเป็นใช้ในช่วงเวลาที่กำหนด กำหนดเงื่อนไขเวลาการใช้แผนที่ฉบับนี้ไว้ที่ประมาณ 2 ปี เป็นการตัดตอนระยะเวลาที่กำหนดไว้ในแผนที่ยุทธศาสตร์หลัก (4 ปี) ในช่วงเวลานี้ สามารถปรับแผนที่ฉบับปฏิบัติการได้ ถ้าการดำเนินงานส่อเค้าว่างานจะไม่เป็นไปตามแผน การใช้ประโยชน์ของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ จะกระทำที่แผนที่ฉบับนี้

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)ร่วมกรมอนามัยและควบคุมโรค แสดง Road Map (เส้นสีแดง)พร้อมตัวชี้วัด KPI 13 ตัว ประชาชนปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/พฤติกรรม KPI อปท. มอบอำนาจให้ท้องที่ดำเนินการ ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน KPI อปท. มอบอำนาจให้ คณะอสม.ดำเนินการ KPI ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ KPI อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ทำบันทึกความร่วมมือ KPI ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง KPI KPI ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ใช้แผนปฏิบัติการ ปรับปรุงแผนตำบล KPI KPI ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ KPI องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ อบรมแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ พื้นฐาน KPI KPI บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม KPI

ข้อสังเกตเกี่ยวกับตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) มีลักษณะเป็นปัจจุบันหรืออนาคต เท่านั้น --“เราต้องทำหรือจะทำอะไรที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ที่นำไปสู่ความสำเร็จ” ใช้ติดตามงานที่เกิดขึ้นเป็นรายวัน/ทุกวัน หรือเป็นปัจจุบัน ( Real Time) ต้องมีการติดตาม ตอบสนองโดยผู้บริหารระดับ CEO ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องเข้าใจตัวชี้วัดและรู้วิธีแก้ไขเมื่อเกิดปัญหา สามารถหาผู้รับผิดชอบในระดับต่างๆได้เมื่อเกิดปัญหา มีผลกระทบต่อยุทธศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญและกว้างขวาง(หลายมุมมอง)

ปัญหาเกี่ยวกับตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่กระทรวงใช้อยู่เป็นตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator) ที่แสดงเป็นจำนวนงานที่ทำได้ หรือเป็นตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Key Result Indicator) ที่แสดงเป็นอัตราต่างๆ ยังไม่มีการใช้ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator) ที่ต้องวัดเป็นปัจจุบันโดยผู้บริหารระดับใกล้ชิด (CEO) จึงไม่สามารถแก้ไขหรือปรับทิศทางขณะที่งานกำลังดำเนินอยู่ได้

สรุป ประโยชน์ของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 1.ตรวจสอบความสอดคล้อง ของโครงการกับยุทธศาสตร์ 7.พัฒนาระบบการเงิน 6.พัฒนาบุคลากร 2.สร้างเครื่องชี้วัด แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 5.จัดรูปองค์กร/กลุ่มงาน 3.ควบคุมความก้าวหน้า ของงาน 4.สร้างแผนงานโครงการ

จบตอนที่ 1 ภาคทฤษฎี

ตอนที่ 2 ภาคปฏิบัติ

เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ งาน(การกะทำเชิง)สังคม การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ SRM (๔ ปี) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ SLM (๒ ปี) กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ (๑ ปี) กิจกรรม งาน (การกระทำเชิง)วิชาการ งาน(การกะทำเชิง)สังคม ตัวชี้วัด

การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น องค์ประกอบของยุทธศาสตร์ 1.กลุ่มเป้าหมาย 2. บุคลากร 3. มาตรการ 4. สภาวะแวดล้อม มาตรการทางเทคนิควิชาการ มาตรการทางสังคม นวัตกรรม กรม/จังหวัด/อำเภอสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ ปัญหา ปัญหา บทบาทท้องถิ่น /ชุมชน บทบาทบุคลากรสาธารณสุข ท้องถิ่นสร้างแผนปฏิบัติการจากแผนที่ SLM สร้างใหม่ งานเดิม

ใช้แผนปฏิบัติการประเด็นที่ 1 กลยุทธ์การสร้างบทบาทประชาชน เกิดนวัตกรรม # 1 เกิดนวัตกรรม ประเด็นที่ 2 (n) สร้างบทบาทของประชาชน สร้างกระบวนการของประชาชน สร้างแผนงานโครงการ (อปท/กองทุน) รัฐปรับเจตคติ/บทบาทของบุคลากร(ทุกฝ่าย)ให้ตอบสนอง สร้างบทบาทของเจ้าหน้าที่ สร้างกระบวนการของเจ้าหน้าที่ Appropriate Technology ใช้แผนปฏิบัติการประเด็นที่ 1 ใช้แผนปฏิบัติการประเด็นที่ 2 (n)

การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น กรม / เขต จังหวัด อำเภอ SRM + SLM รายประเด็น จุดหมายปลายทางSRM / SLM ของจังหวัด (ถ้ามี) จุดหมายปลายทาง SLMของอำเภอ ตารางนิยามฯ 11 ช่อง(บางส่วน) จุดหมายปลายทาง + SLM ร่วมสองกรมฯ บริบทของตำบล ประเด็นกำหนดโดยผู้บริหาร ปรับจุดหมายปลายทาง และSLM เติมเต็มตาราง 11 ช่อง แผนปฏิบัติการตำบลรายประเด็น ตำบล ใช้แผนที่ความคิด ใช้ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังตำบล

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)ร่วมกรมอนามัยและควบคุมโรค แสดง Road Map (เส้นสีแดง)พร้อมตัวชี้วัด KPI 13 ตัว ประชาชนปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/พฤติกรรม KPI ระดับนี้สร้างแผนปฏิบัติการ อปท. มอบอำนาจให้ท้องที่ดำเนินการ ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน KPI อปท. มอบอำนาจให้ คณะอสม.ดำเนินการ KPI ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ KPI อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ทำบันทึกความร่วมมือ KPI ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง KPI KPI ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ใช้แผนปฏิบัติการ ปรับปรุงแผนตำบล KPI KPI ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ KPI องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ อบรมแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ พื้นฐาน KPI KPI บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม KPI

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลเหมืองใหม่ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ภายในปี 2553 ประชาชนปฏิบัติต่อตนเอง ครอบครัวถูกต้องตามเกณฑ์ ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการเฝ้าระวัง H1N1 ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดและดำเนินกิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมH1N1 KPI ประชาชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคมที่เด็ดขาด ชุมชนดำเนินมาตรการทางสังคมอย่างจริงจังต่อเนื่อง KPI ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ KPI ใช้ข้อตกลงเฝ้าระวังควบคุม ป้องกันทุกหมู่บ้าน KPI ศอช. ภาคเอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก ภาคี อปท.และท้องที่นำร่องเรื่อง H1N1 KPI หน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องและเชิงรุก KPI ประชาชนมีการตอบกลับข้อมูล มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกันของเครือข่าย KPI สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวัง H1 N2 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลในเรื่อง H1N1 KPI ชุมชนและเครือข่ายนำข้อมูลไปใช้ในการเฝ้าระวัง KPI ผู้นำเปิดใจและทำงานเชิงรุกตามฉันทามติอย่างต่อเนื่อง KPI บุคลากร และทายาททำงานเป็นทีม ในบรรยากาศที่เอื้ออำนวย ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย พื้นฐาน KPI ผู้นำมีศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ความคิดเชิงบวก เชิงรุก KPI KPI

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลเหมืองใหม่ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ภายในปี 2553 สร้างแผนปฏิบัติการบริเวณนี้ ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการเฝ้าระวัง H1N1 ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดและดำเนินกิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมH1N1 KPI ประชาชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคมที่เด็ดขาด KPI ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ KPI KPI ศอช. ภาคเอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก ภาคี อปท.และท้องที่นำร่องเรื่อง H1N1 KPI หน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องและเชิงรุก KPI KPI สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวัง H1 N2 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลในเรื่อง H1N1 KPI KPI KPI บุคลากร และทายาททำงานเป็นทีม ในบรรยากาศที่เอื้ออำนวย ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย พื้นฐาน KPI ผู้นำมีศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ความคิดเชิงบวก เชิงรุก KPI KPI

ตัวอย่าง แผนปฏิบัติการ ของท้องถิ่น/ตำบล เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/พฤติกรรม CSF (หัวใจของความสำเร็จ) ดำเนินมาตรการทางสังคม (กิจกรรมสำคัญ) สร้างโครงการชุมชน (กิจกรรมสำคัญ) ใช้ข้อมูล /สื่อสาร/ ความรู้(กิจกรรมเสริม) ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง CSF (หัวใจของความสำเร็จ) ประชาชน องค์กรใน / นอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี อปท.ขับเคลื่อน สาธารณสุขสนับสนุนวิชาการ

โปรดชมการแสดงวิดิทัศน์ต่อไปนี้

จบตอนที่ 2 ภาคปฏิบัติ

ตอนที่ 3 ภารกิจ

คณะวิทยากรจังหวัด/อำเภอ โรงเรียนนวัตกรรมชุมชน การจัดการเพิ่มทักษะเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ คณะวิทยากรจังหวัด/อำเภอ โรงเรียนนวัตกรรมชุมชน จังหวัด เรียนรู้ / ฝึกงาน กองทุนฯสุขภาพตำบล 1 2 1 2 สปสช. เขต รวมทีมวิทยากรกลางจากจังหวัดต่างๆ ใช้หมุนเวียนภายในเขต 2552 2553

องค์กรต่างๆใน/นอก พื้นที่ แผนการขยายงานแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กองทุนฯ โรงเรียน นวัตกรรมชุมชน กองทุนฯ อปท. สาธารณสุข องค์กรต่างๆใน/นอก พื้นที่ กองทุนฯ กองทุนฯ กองทุนฯ สปสช. (ทีมวิทยากรเขต) ท้องที่อำเภอ

เกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 9 ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตั้งคณะทำงานจัดการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มีสสจ.เป็นประธาน สมาชิกมีทุกระดับตั้งแต่จังหวัดถึงท้องถิ่น มีหน้าที่หลักคือ (1) การจัดการที่เกี่ยวข้องกับแผนที่ยุทธศาสตร์ (2) การพัฒนาบทบาทประชาชน และ (3) การจัดการนวัตกรรม คัดเลือกกองทุนฯต้นแบบอำเภอละ 1 แห่ง ให้อำเภอตั้งคณะทำงานประกอบด้วยภาคีที่มีส่วนสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

4. ส่งวิทยากรที่คัดสรรแล้วเข้าร่วมเป็นทีมวิทยากรเขตที่ใช้หมุนเวียนสนับสนุนจังหวัดภายในเขต (สปสช. เขต เป็นผู้จัดการ) 5. สนับสนุนทีมวิทยากรเขตพัฒนากองทุนต้นแบบเป็นโรงเรียนสำหรับสอนกองทุนอื่นๆต่อไป 6. กองทุนต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นโรงเรียน ต้องมีโครงการที่เคลื่อนไหวอยู่ในพื้นที่อย่างน้อย 3 โครงการ ที่เกี่ยวกับ (1) สภาวะแวดล้อม (2) การควบคุมโรคไม่ติดต่อพร้อมสร้างสุขภาวะ (3) การควบคุมโรคติดต่อพร้อมสร้างสุขภาวะ (4) อาหารหรือโภชนาการ หรือ (5) กลุ่มเพศวัยและปัญหาพิเศษต่างๆ ซึ่งโครงการเหล่านั้นสามารถแสดงผลการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายได้

7. ทุกจังหวัดจะได้รับจุดหมายปลายทางและแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ร่วม (SLM) ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค ให้นำไปปรับใช้ในระดับอำเภอและตำบลตามแนวทางในภาพ “การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น” โดยถ่ายระดับแผนที่ฯไปจนได้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM 8. การวางงานในระดับท้องถิ่น ให้ใช้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM” ที่สร้างจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ทำการปรับปรุงเนื้อหาของแผนงานโครงการสุขภาพของ อปท. ให้สอดคล้อง 9. หากท้องถิ่นพิจารณาเห็นสมควร อาจใช้ตัวอย่างแผนปฏิบัติการที่แนบมา พร้อมจุดหมายปลายทางและ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

เงื่อนเวลาที่แนะนำ คัดเลือกกองทุนฯที่จะเป็นต้นแบบให้แล้วเสร็จ อำเภอละ 1 ตำบล ภายในธันวาคม 2552 เริ่มจัดการนวัตกรรมและความคิดริเริ่ม ตั้งแต่คัดเลือกกองทุนฯที่กำหนดให้เป็นต้นแบบได้ ทำการประเมินกองทุนฯที่สามารถเป็นครูได้ ภายในมิถุนายน 2553 เปิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกองทุนฯสุขภาพตำบลสำหรับผู้ปฏิบัติต่างตำบล และฟื้นฟู สำหรับผู้ปฏิบัติภายในตำบล ตั้งแต่ กรกฎาคม 2553

การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ จะช่วยเร่งอัตราการพัฒนา สู่จุดหมายปลายทางคือการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมให้เร็วยิ่งขึ้น

สวัสดี