World Time อาจารย์สอง Satit UP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
จัดทำโดย นายอภิวัฒน์ กันใจ วิน. ในสังคมปัจจุบันคนไทยนิยมเรียนภาษาจีนเพื่อนำไปใช้เป็น เครื่องมือในการประกอบอาชีพกันเป็นจำนวนมาก ประกอบกับ การจัดการศึกษาของไทยเรากำลังก้าวไปสู่ความเป็นนานาชาติ
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก
ประธานโซนภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โซน 1
ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
World Time อาจารย์สอง Satit UP
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
IP-Addressing and Subneting
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
IP-Addressing and Subneting
GMT & IDL อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
World Time อาจารย์สอง Satit UP
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
. ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การจัดการความรู้ Knowledge Management
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
ยิ้มก่อนเรียน.
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

World Time อาจารย์สอง Satit UP

TIME & Longitude

Time Zone

TIME ZONE MAP

TIME ZONE Time Zone หมายถึง พื้นที่ที่มีเวลามาตรฐาน (Standard Time) เดียวกัน มักจะถูกหมายถึงเวลาท้องถิ่น (Local Time) แต่ละโซนจะมีระยะเวลาแตกต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง โดยใช้วิธีการแบ่งพื้นที่ ด้วยหลักการทางภูมิศาสตร์ (1 ชั่วโมง = 15 องศาลองติจูด) ซึ่งปกติแล้ว Time Zone ที่เราใช้กันจะมี 2 ความหมาย คือ 1. เขตพื้นที่ที่มีระยะห่างของเวลาท้องถิ่นและจุดอ้างอิง (Greenwich Mean Time, GMT) เป็นค่าคงที่เดียวกัน 2. เขตพื้นที่ที่มีระยะห่างของเวลาท้องถิ่นและจุดอ้างอิงเดียวกันเสมอ ถึงแม้ว่า การอ้างอิงจะมีการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล กล่าวคือมีเวลา Standard Time เดียวกันนั้นเอง

เขตเวลา : TIME ZONE ในปี ค.ศ. 1884 (พ.ศ.2427) (มีการตกลงกันของประเทศที่เข้าร่วมประชุม International Meridian Conference จำนวน 25 ประเทศ ที่ Washington, D.C. กำหนดให้แบ่งพื้นที่มาตรฐานของโลก ออกเป็น 24 โซน โดยใช้เส้นที่ลากจากขั้วโลกเหนือ ไปยังขั้วโลกใต้เป็นเส้นแบ่ง โดยแต่ละโซนมีความกว้าง 15 องศา และให้จุดเริ่มต้นหลัก (Prime Meridian) เป็นเส้นเมอริเดียน หรือลองติจูดที่ผ่านเมือง Greenwich ประเทศอังกฤษ

เขตเวลา : TIME ZONE จากการกำหนดที่ประชุมที่ Washington D.C. ปี 1884 ดังกล่าว ทำให้เวลาในแต่ละวันทั่วโลก ถูกแบ่งเป็น 24 โซน (24 Standard Time Zone) ซึ่งในแต่ละ Time zone จะใช้เวลาเดียวกันทั้งหมด เรียกว่า “ Standard time "

แถบแนวตรงคือค่าที่ควรจะเป็น..... ....แต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่เป็นไปตามแนวเส้นตรงก็เพราะ การคำนึงถึงแนวเขตแดนรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ในทางการปกครอง

แผนที่แสดงเขตเวลา(Time zone)บนโลกที่ต่างกันแต่ละบริเวณ แต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ

แผนที่แสดงเขตเวลา(Time zone)บนโลกที่ต่างกันแต่ละบริเวณ แต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ

เขตเวลา ( Time Zone) ในอดีต เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมอริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15 องศา ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ แต่ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0 องศา) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ

แผนที่แสดงเขตเวลา(Time zone)บนโลก 24 เขตเวลา ที่มีการตกลงกันในที่ประชุม International Meridian Conference ที่กรุง Washington D.C. เมื่อปี 1884 โดยได้กำหนดให้แบ่งเขตเวลาออกเป็น 24 เขต

GMT-12 <--------GMT-2, GMT-1 < - GMT 0 - > GMT+1, GMT+2 -------> GMT+12 24 เขตเวลา (Time Zone)

San Francisco ( California ) Maine San Francisco ( California ) กรณีประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีพื้นที่กว้างใหญ่ เป็นการยากที่จะใช้เวลาเดียวกันทั้งประเทศจากฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกถึงฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกดวงอาทิตย์ขึ้นที่ซานฟรานซิสโก (San Francisco) ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกาช้ากว่าในรัฐเมน (Maine)ที่อยู่ทางตะวันออกของประเทศ ประมาณ 4 ชั่วโมง จึงแบ่งเขตเวลาออกเป็น 4 เขตหลัก ๆ

เขตเวลา Time Zone กรณีประเทศที่มีขนาดใหญ่มากอย่างรัสเซียได้กำหนดเขตเวลาในประเทศแบ่งออกเป็น ถึง 11 เขตเวลา (Time zone)