งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

World Time อาจารย์สอง Satit UP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "World Time อาจารย์สอง Satit UP"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 World Time อาจารย์สอง Satit UP

2 TIME & Longitude

3 เวลามาตรฐาน (Standard Time)

4 เวลามาตรฐาน (Standard Time)
ความเป็นมา ความริเริ่มเกี่ยวกับเวลามาตรฐานประจำถิ่นเริ่มมาตั้งแต่ ศตวรรษที่ 19 เพื่อขจัดความสับสนเนื่องจากการจับเวลาตามแสงอาทิตย์ การกำหนดเวลามาตรฐานท้องถิ่นจึงจำเป็นมากขึ้นเมื่อมีการเดินรถไฟขึ้น ในปี พ.ศ ได้มีการใช้เวลามาตรฐานครั้งแรกในประเทศอังกฤษ โดยทั้งประเทศใช้เวลามาตรฐานที่เมืองกรีนีช (Greenwich) ต่อมา เซอร์ แซนฟอร์ด เฟรมมิง นักวางแผน และวิศวกรรถไฟชาวแคนาดา ได้เป็นผู้ริเริ่มความคิดที่มีการใช้เวลามาตรฐานไปทั่วโลก

5 เวลามาตรฐาน ( Standard Time )
ถ้าทุกแห่งใช้เวลาท้องถิ่น จะเกิดความสับสนสำหรับผู้ที่ท่องเที่ยวจากแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่งและสำหรับกิจการอื่นๆ อีกหลายอย่าง รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับการส่งรับวิทยุโทรทัศน์และการสื่อสาร          ประเทศอังกฤษทั้งประเทศใช้เวลาของเมริเดียนกรีนิช ประเทศฝรั่งเศสแต่ก่อนเคยใช้เวลาของเมริ-เดียนปารีส แต่ได้เปลี่ยนมาใช้เวลาของกรีนิชตั้งแต่พ.ศ (ค.ศ. 1911)

6 เวลามาตรฐาน ( Standard Time )
การใช้เวลามาตรฐาน (Standard Time) ของแต่ละประเทศ โดยเทียบกับเวลามาตรฐานโลก (Universal Time Co-ordinated หรือ UTC) นั้นใช้กฎเกณฑ์พื้นฐานที่ได้จากการประชุมนานาชาติ International Prime Meridian Conference ณ กรุงวอชิงตัน ดี ซี เมื่อ 1 พฤศจิกายน 1884 โดยมี 25 ประเทศเข้าร่วมประชุม ที่ประชุมได้มีข้อตกลงให้ แบ่งโลกตามแนวเส้นแวงออกเป็น 24 โซนเท่าๆ กัน แต่ละโซนมีค่า 15 องศา ทั้งในทางทิศตะวันตกและตะวันออก และมีค่าเท่ากับ 1 ชั่วโมงห่างจากโซนที่ติดกัน และเส้น 0 องศาจะผ่านที่เมืองกรีนีช (Greenwich) ประเทศอังกฤษ โดยมีเส้นแบ่งวัน (International Date Line) อยู่ที่ 180 องศา ทั้งนี้ประเทศต่างๆ ได้รับเอาแนวคิดนี้ โดยใช้เส้นแวงที่แบ่งโลกออกเป็นสองส่วนเป็นตัวกำหนดเวลาว่า เวลามาตรฐานประจำถิ่น เร็วกว่าหรือช้ากว่าเวลามาตรฐานโลก ที่เมืองกรีนีช ประเทศอังกฤษ เท่าไร แต่อย่างไรก็ดีก็มีการกำหนดเวลาท้องถิ่น และเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพของประเทศต่างๆ ทั้งนี้สิทธิการกำหนดเวลามาตรฐานประจำถิ่นยังเป็นของประเทศนั้นๆ

7 เวลามาตรฐาน (Standard Time)
สำหรับประเทศไทยนั้นกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ เป็นผู้ควบคุมเวลามาตรฐานของประเทศไทย และการเปลี่ยนแปลงแก้ไขเวลาให้เที่ยงตรงในแต่ละปีก็จะมีการประสานงาน กับสถาบันนานาชาติเกี่ยวกับน้ำหนักและการวัด (International Bureau of Weighs and Measurement หรือ BIPM) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบัน ประเทศไทยได้กำหนดเวลามาตรฐานของประเทศเป็น UTC + 7 (เร็วกว่าเวลามาตรฐานโลก 7 ชั่วโมง)

8 เวลามาตรฐานของประเทศ ปัจจุบัน ประเทศไทยได้กำหนดเวลามาตรฐานของประเทศเป็น UTC + 7 หรือ GMT+7 (เร็วกว่าเวลามาตรฐานโลก 7 ชั่วโมง) โดยใช้เส้นลองจิจูดที่ 105˚E ซึ่งลากผ่านจังหวัดอุบลราชธานีของไทยเป็นเส้นอ้างอิงเวลาเทียบกับเวลาที่กรีนีช ซึ่งจะทำให้มีเวลาเร็วกว่าเวลามาตรฐานที่กรีนิช 7 ชั่วโมงพอดี Longitude 105˚E

9 เวลามาตรฐานของประเทศ ปี พ. ศ. 2400 (ค. ศ
เวลามาตรฐานของประเทศ ปี พ.ศ (ค.ศ. 1857) - ประเทศไทยมีเวลามาตรฐานเป็นของตัวเอง คือ เวลามาตรฐานกรุงเทพปานกลาง หรือที่เรียกว่า Bangkok mean time ซึ่งเป็นเวลาที่เร็วกว่าที่กรีนิช 6 ชั่วโมง 42 นาที ปี พ.ศ (ค.ศ. 1919) - ได้มีการประชุมสภาสากลอุทกนิยม ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เพื่อแบ่งภาคเวลา โดยกำหนดให้ตำบลกรีนิช เป็นจุดแรกของการกำเนิดเวลา ประเทศไทยจึงได้มีการกำหนดเวลามาตรฐานใหม่ จากเส้นแวงที่ 100 องศาตะวันออก ซึ่งพาดผ่านพระบรมมหาราชวัง มาเป็นเส้นแวงที่ 105 องศาตะวันออก 1 เม.ย. 2463(ค.ศ. 1920) - พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงออกพระราชกฤษฎีกาให้ใช้อัตราเวลาทั่วราชอาณาจักรไทย เป็น 7 ชั่วโมงก่อนเวลาที่ตำบลกรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ Longitude 100˚E Longitude 105˚E

10 การเปลี่ยนแปลงเวลามาตรฐาน (Standard Time)
เนื่องจากการกำหนดเวลามาตรฐานของแต่ละประเทศนั้น เป็นสิทธิของแต่ประเทศ การเปลี่ยนแปลงส่วนมากก็จะมีสาเหตุหลายอย่างแต่โดยทั่วไปแล้วมักเป็นเหตุผลทางด้านพาณิชย์เป็นส่วนใหญ่

11 การเปลี่ยนแปลงเวลามาตรฐาน (Standard Time)
Russia Venezuela เมื่อ 9 ธ.ค เวเนซูเอลาได้เริ่มปรับเปลี่ยนเวลาช้าลงจากเดิมครึ่งชั่วโมง โดยประธานาธิบดีฮูโก ชาเวซ อ้างเพื่อช่วยให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เด็กนักเรียนกระฉับกระเฉงความจำดีเพราะได้ตื่นแต่เช้า แต่ประชาชนไม่เห็นด้วยเพราะเห็นว่าไม่เกิดประโยชน์ใดๆ Jordan ได้เปลี่ยนเวลามาตรฐานของตนจาก UTC+2 ชั่วโมงมาเป็น UTC+3 ชั่วโมง เร็วกว่าเดิม 1 ชั่วโมง ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 1999 Nepal ที่เปลี่ยนจาก UTC+5.40 มาเป็น UTC เร็วขึ้นจากเดิม 5 นาที

12 เวลาท้องถิ่น หรือ เวลาตำบล ( Local Time / Local Mean Time )

13 เวลาท้องถิ่น ( Local Time )
         เวลาท้องถิ่นที่บริเวณใด เป็นเวลาซึ่งดวงอาทิตย์ชี้บอกที่เมอริเดียนนั้น  เวลาชนิดนี้จึงแตกต่างกันตามลองจิจูดที่ต่างกัน บนผิวโลก ต่างกัน 1 ชั่วโมงเท่ากับ    ลองจิจูดต่างกัน 15 องศา หรือ 4 นาทีสำหรับทุกๆ 1 องศาลองจิจูด ความต่างระหว่างเวลาท้องถิ่นกับเวลาที่ลองจิจูด 0 องศา ซึ่งผ่านกรีนิชขณะเดียวกันเท่ากับความต่างของลองจิจูดที่ท้องถิ่นกับกรีนิช

14 เวลาท้องถิ่น ( Local Time )
       เวลาท้องถิ่น หรือ เวลาตำบล (Local Mean Time) คือ เวลาจริง ณ ตำบล หรือ ท้องถิ่นที่ตั้งของเมือง ที่อาจมีผลต่างจากเวลานาฬิกามาตรฐานที่กำหนดไว้กับนานาประเทศ หรือ เวลานาฬิกาของประเทศนั้น ๆ จะยกตัวอย่างให้เห็นง่าย ๆ ประเทศไทยของเรานั้น ตั้งเวลามาตรฐานนาฬิกาสากล หรือ เวลาที่ใช้ตรงกันทั่วประเทศไว้ที่เส้น 105 องศา ตะวันออก ซึ่งเป็นเส้นแวง ที่ลากผ่านตำบลหนึ่ง ในจังหวัดอุบลราชธานี อันเป็นจังหวัดที่อยู่ทางภาคอีสานของประเทศไทย        

15 เวลาท้องถิ่น ( Local Time )
เมื่อเวลานาฬิกาที่เราใช้ บอกเวลา น. หรือ เที่ยงวันตรง นั่นหมายความว่า เวลาดังกล่าวนี้ เป็นเวลาเที่ยงวันตรงจริง ๆ ของ ตำบลดังกล่าวในจังหวัดอุบลราชธานี เท่านั้น แต่เมื่อท่านอยู่ที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดอุบลราชธานี หรือ เส้นมาตรฐานเวลา หลายร้อยกิโลเมตร มาทางทิศตะวันตก เราจะเหมาเอาว่า เวลาเที่ยงตรงของนาฬิกาที่จังหวัดอุบลราชธานีนั้น เป็นเวลาเที่ยงตรงจริง ๆ ของกรุงเทพฯ ซึ่งหากคิดเช่นนั้น ถ้าจะให้เป็น เวลาเที่ยงตรงจริง ๆ ของกรุงเทพ ฯ ก็ต้องให้เป็นเวลานาฬิกา น. (เพราะตั้งอยู่ที่เส้นแวงที่ 100 องศาตะวันออก) เพราะซีกโลกตะวันออก เมืองหรือประเทศที่อยู่ทางด้านขวามือในแผนที่ ย่อมเห็นพระอาทิตย์ขึ้นก่อน              

16 เวลาท้องถิ่น ( Local Time )
             ที่เราทราบว่า เวลา น. เป็นเวลาเที่ยงตรงจริง หรือ เวลาท้องถิ่น ของกรุงทพฯ ที่ต่างจากเวลาท้องถิ่นของอุบลราชธานี ถึง 18 นาที นั้น เพราะเราทราบว่า กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่ เส้นลองติจูด องศา ตะวันออก ต่างจากเส้นเวลามาตรฐานนาฬิกาของประเทศไทย ที่ 105 องศาตะวันออก ถึง 4 องศา ครึ่ง เมื่อเราทราบดังนี้แล้ว เราก็เอา 4 องศาครึ่งนี้ แปลงให้เป็น นาที องศา นั้น เท่ากับ 4 นาที ดังนั้น 4 องศาครึ่ง จึงเท่ากับ 18 นาที

17 เวลาท้องถิ่น ( Local Time ) หากคำนวณ ตามละติจูดจริง
ห่างกัน 4.5 องศา (18 นาที) ห่างกัน 8 องศา (32 นาที) 11.28 น แม่ฮ่องสอน เวลาท้องถิ่น ( Local Time ) หากคำนวณ ตามละติจูดจริง Longitude 100˚.5 E 12.00 น อุบลราชธานี กรุงเทพฯ 11.42 น Longitude 97˚E Longitude 105˚E


ดาวน์โหลด ppt World Time อาจารย์สอง Satit UP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google