Alkyne และ Cycloalkyne เคมีอินทรีย์ Alkyne และ Cycloalkyne 3. แอลไคน์ (Alkyne) แอลไคน์ (Alkynes) มีสูตรทั่วไป CnH2n-2 เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทไม่อิ่มตัว (Unsaturated hydrocarbon) พันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมในโมเลกุลมีพันธะสาม (C≡C) มีทั้งโครงสร้างที่เป็นโซ่เปิด (โซ่ตรงและโซ่กิ่ง) และโซ่ปิด โครงสร้างที่เป็นโซ่ปิดเรียกว่าไซโคลแอลไคน์ (Cycloalkyne) มีสูตรทั่วไป CnH2n-4
Alkyne และ Cycloalkyne เคมีอินทรีย์ Alkyne และ Cycloalkyne การอ่านชื่อสารประกอบแอลไคน์ ใช้หลักการอ่านเช่นเดียวกับแอลคีน แต่ลงเสียงท้ายชื่อด้วย –ไอน์ (–yne) ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบแอลไคน์
ปฏิกิริยาของ Alkyne และ Cycloalkyne เคมีอินทรีย์ ปฏิกิริยาของ Alkyne และ Cycloalkyne 1. ปฏิกิริยาการเผาไหม้ (Combustion) 2C2H2+ 5O2 4CO2 + 2H2O
ปฏิกิริยาของ Alkyne และ Cycloalkyne เคมีอินทรีย์ ปฏิกิริยาของ Alkyne และ Cycloalkyne 2. ปฏิกิริยาการเติม
Aromatic hydrocarbon 4. Aromatic hydrocarbon เคมีอินทรีย์ Aromatic hydrocarbon 4. Aromatic hydrocarbon เป็นสารประกอบที่อะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็นวง มีจำนวน π–electrons เป็น 4n+2 เมื่อ n = 0,1,2,3,... และอิเล็คตรอนเหล่านี้ จะไม่อยู่ประจำที่ ตัวอย่างเช่น
Aromatic hydrocarbon Benzene เป็นของเหลวไม่มีสี เคมีอินทรีย์ Aromatic hydrocarbon Benzene เป็นของเหลวไม่มีสี มีจุดหลอมเหลว 5.5oC และจุดเดือด 80oC เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว ไม่ละลายน้ำ โครงสร้างของเบนซีน ; ความยาวพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมทุกพันธะยาวเท่ากันหมด คือ 1.39Ao ซึ่งเป็นพันธะที่อยู่ระหว่างพันธะคู่ (1.34Ao) และพันธะเดี่ยว (1.54Ao) มุมระหว่างพันธะทุกมุมเป็น 120o
เคมีอินทรีย์ Aromatic hydrocarbon Benzene เกิดปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ได้
เคมีอินทรีย์ Aromatic hydrocarbon Benzene เกิดปรากฏการณ์เรโซแนนซ์ได้
ปฏิกิริยาของ Aromatic เคมีอินทรีย์ ปฏิกิริยาของ Aromatic 1. สามารถทำปฏิกิริยากับ HNO3 โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยา 2. สามารถทำปฏิกิริยากับ H2SO4 3. สามารถทำปฏิกิริยากับ Br2 โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยา