การเคลื่อนที่ของพวกโพรติสต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต UMAPORN.
Advertisements

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Basic principle in neuroanatomy
โพรโทซัว( Protozoa ).
ถังบรรจุน้ำเย็น การใช้งานของผลิตภัณฑ์ วัสดุ เทคโนโลยีการขึ้นรูป
การผลิตเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จัดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา
การทดลองที่ 9 Loops (วงวน) การทดลองที่ 9 Loops (วงวน)
 MMovement ( ความเคลื่อนไหว )  RRespiration ( การหายใจระดับเซลล์ )  SSensitivity ( ความไวต่อแสง )  GGrowth ( พัฒนาการ )  RReproduction ( การสืบพันธุ์
บทเรียนออนไลน์ เรื่อง Part of body( พาสออฟบอดี้ ) ส่วนต่างๆของร่างกาย
ทบทวนความรู้เดิม.
Reprod. Physio. of Domestic Animal
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต. วิดีโอ เท้าเทียม (Pseudopodium)
Peroxisome: a specialized type of Lysosome that breaks down H2O2
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
กล้องจุลทรรศน์.
อาณาจักรโปรติสตา Kingdom Protista พิษณุ วรรณธง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับน้ำยาง และองค์ประกอบต่างๆ ในน้ำยาง
โดย อาจารย์วิภาดา ศรีเจริญ
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
ระบบเบิกจ่ายพัสดุครุภัณฑ์
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ __________________________________________________________________________________________________________________________________________.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
อ.ธนวัฒน์ ชัยพงศ์พัชรา วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
แบบทดสอบความรู้การช่วยกู้ชีพทารกแรกเกิด
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
ระบบควบคุมภายในด้านการเงินการคลัง
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่ง
แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่
คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality)
อัลกอริทึม (Algorithm ) ขั้นตอนวิธี
การเขียนและการจัดทำข่าวประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์
โครงสรางพื้นฐานของเซลล
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
กลไกการตอบสนองของร่างกายแบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะต่อสิ่งแปลกปลอม
ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มรอบ
นิวเคลียส (Nucleus) ประกอบด้วย
CFO เขตสุขภาพที่ 2.
พรณิชา ชุณหคันธรส ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
Muscular tissue = เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ
ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
ระบบขับถ่าย (Excretion). ระบบขับถ่าย (Excretion)
จัดทำโดย อาจารย์วิษณุ สมัญญา
การพัฒนาข้อมูลสาเหตุการตาย
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
การเคลื่อนไหวของพืช นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
การพยาบาลมารดาระยะหลังคลอด
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
สำนักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
การตอบสนองของพืช.
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
(Flowchart) ผังงาน.
โปรแกรมสถานพยาบาลปฐมภูมิ กองทัพเรือ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเสริมหน้าอกด้วยซิลิโคน และ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่ของพวกโพรติสต์ โพรติสต์ เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ยังไม่มีระบบเนื้อเยื่อ ดังนั้นจึงไม่มีทั้งกล้ามเนื้อและกระดูก อย่างไรก็ตามโพรติสต์สามารถมีการเคลื่อนไหวได้หลายลักษณะ คือ 1. การเคลื่อนที่โดยอาศัยการไหลของไซโทพลาซึม (Cytophasmic flow) พบในการเคลื่อนที่แบบอะมีบอยด์ (amoeboid movement) ในเซลล์ของอะมีบา จะพบว่าไซโทพลาซึม แบ่งออกเป็น 2 ชั้น ชั้นนอกค่อนข้างแข็งตัว เรียก เอ็กโทพลาซึม (ectoplasm) มีสภาพเป็นเจล (gel) ส่วนชั้นในมีสภาพเป็นของเหลวมากกว่าและไหลได้มากกว่า เรียกว่า เอนโดพลาซึม (endoplasm) โดยรอบนอกค่อนข้างแข็ง (gel) แต่ชั้นในมีสภาพเป็นของเหลวเรียกว่า โซล (sol)

ในไซโทรพลาซึมของอะมีบามีไมโครฟิลาเมนต์ (microfilament) มากมาย ซึ่งประกอบด้วยเส้นใยโปรตีนพวกแอกติก (actin) เมื่อ แอกติกเลื่อนก็จะทำให้เอนโดพลาซึมไหลในเซลล์ได้ เมื่อเอนโดพลาซึมไหลไปทางตอนปลายของเซลล์ในทิศที่จะเคลื่อนที่ไปจะดันเยื่อหุ้มเซลล์ให้โป่งออกมาเป็นซูโดโปเดียว (Pseudopodium) ต่อจากนั้น ไซโทพลาซึมที่เหลือจะเคลื่อนที่ตามมาในทิศทางเดียวกับซูโดโปเดียม ทำให้อะมีบาเคลื่อนที่ไปได้ เรียกการเคลื่อนไหวแบบนี้ว่า การเคลื่อนที่แบบอะมีบา หรือแบบอะมีบอยด์ (ameeboid movement) การเคลื่อนที่แบบนี้พบในเซลล์เม็ดเลือดขาวด้วย

2. การเคลื่อนที่โดยใช้ซิเลียและแฟลเจลลัม (Cilia and Flagellum movement)  การเคลื่อนที่โดยใช้ซิเลีย และแฟลเจลลัม พบว่าสิ่งมีชีวิตหลายชนิดมีโครงสร้างเล็กๆ เรียกว่า ซิเลีย หรือแฟลเจลลัม ยื่นออกมาจากเซลล์เพื่อใช้ในการเคลื่อนที่ ซิเลียมีขนาดสั้นกว่า แต่มีจำนวนมากมายมองดูคล้ายขน  ในขณะที่แฟลเจลลัมมีขนาดยาวกว่าและมีจำนวนน้อยกว่ามาก แต่โครงสร้างทั้งสองก็มีส่วนประกอบพื้นฐานอย่างเดียวกัน คือ ประกอบด้วยหลอดโปรตีนไมโครทูบูล (microtubules) 2 หลอด ไม่ติดกัน เป็นแกนอยู่ตรงกลางของหลอด ล้อมรอบด้วยไมโครทูบูลที่ติดกันเป็นคู่ๆ อีก 9 คู่ (9 + 2)

 โดยมีเยื่อบางๆ หุ้มอีกชั้นหนึ่งเยื่อนี้จะติดต่อเป็นเยื่อเดียวกับ เยื่อหุ้มเซลล์ โคนของซิเลียและแฟลเจลลัมแต่ละอันจะอยู่ลึกลงไปในเยื่อหุ้มเซลล์ เรียกส่วนนี้ว่า เบซัลบอดี (basal body) หรือไคนีโทโซม (kinetosome) (ดังรูป) บริเวณเบซัลบอดี จะไม่มีไมโครทูบูลคู่ที่อยู่ตรงกลาง แต่มีไมโครทูบูล เรียงเป็นกลุ่ม 9 กลุ่ม กลุ่มละ 3 หลอด จึงมีรหัสโครงสร้างเป็น 9 + 0 หน้าที่ของเบซัลบอดี คือควบคุม การโบกพัดของซิเลียและแฟลเจลลัม  ไมโครทูบูล ประกอบด้วยโมเลกุลโปรตีน ทูบูลิน (Tubulin) เรียงตัวต่อกันเป็นสายยาวและแต่ละหลอดไมโครทูบูล ประกอบด้วย สายยาวของโปรตีนทูบูลิน จำนวน 13 สายเพื่อประกอบกันเป็นผนังของหลอด

 ระหว่างไมโครทูบูลที่เรียงเป็นวง จะมีโปรตีน ไดนีน (dynein) เป็นเสมือนแขนที่เกาะกับไมโครทูบูล เรียกว่า ไดนีน อาร์ม (dynein arm) ทำให้ซีเลียและแฟลเจลลัม โค้งงอและพัดโบกได้  ในการที่จะอธิบายกลไกการเคลื่อนไหวของซีเลียและ แฟลเจลลัม ยังไม่มีทฤษฎีใด อธิบายได้แจ่มชัดนัก ทฤษฎีที่เชื่อกันมากคือเมื่อสิ่งเร้ากระตุ้นผ่านเบซัลบอดีแล้วจะถูกส่งขึ้นไปตามไมโครทูบูล

ค. ภาพแสดงโครงสร้างตัดขวางของเบซัลบอดี ซีเลียและแฟลเจลลัม “ 9+2 ” เบซัลบอดี “ 9+0 ” ก. ข. ค. ก. การเรียงไมโครทูบูลในซีเลียและแฟลเจลลัมตัดตามขวางของโพรโทซัวชนิดหนึ่ง ข. แผนภาพแสดงภาคตัดขวางของการจัดเรียงตัวของไมโครทูบูลของซีเลียและแฟลเจลลัม ค. ภาพแสดงโครงสร้างตัดขวางของเบซัลบอดี