ไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

แนวทางการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า ศ.กิตติคุณ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
Development Communication Theory
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
Kosol Charernsom Kasetsart University Department of Entomology.
ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
ชนิดของปลวกที่เข้าทำลายต้นยางพาราและการจัดการ
การควบคุมปลวกโดยชีววิธีด้วยการใช้เชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae Metschnikoff Biological Control of Termites by Using the Green Muscardine Fungus.
การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ
การใช้สูตร Excel x ให้พิมพ์ใน cell ว่า =5.7*1E+6
II. Post harvest loss of cereal crop
ALL RIGHTS RESERVED K. Charernsom: Dept. Entomology, Kasetsart Univ.
Kosol Charernsom Kasetsart University Department of Entomology.
โรคกล้วย โดย ผศ.อดิศักดิ์ บ้วนกียาพันธุ์
BIOCONTROL OF RICE DISEASES By TRICHODERMA HARZIANUM IN THAILAND
หลักการวินิจฉัยโรค และแมลงศัตรูพืช
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
การอ้างพาร์ท. /folder_name/file_name.exte nd /slash ที่อยู่หน้าสุดหมายถึง root folder /slash ที่อยู่ตรงกลางเป็นตัวคั่นระหว่าง ชื่อ folder และ ชื่อ file.
ภาพรวมพลังงาน.
บทที่ 3 : การป้องกันการเจาะระบบ Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
- ค่าธรรมเนียมต่างจากภาษี
เทคนิคเกษตรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
อะตอม คือ?.
Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
วิชาหลักนิเทศศาสตร์ Communication Arts
Chapter Objectives Chapter Outline
ภาพรวมพลังงาน.
บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
การผลิตหม่อนไหม Sericulture.
Easter อาจารย์สอง Satit UP.
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
การจัดการศัตรูพืช (ผษ101 เกษตรเพื่อชีวิต: บทที่ 6)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
การเพิ่มกลุ่มข้อมูลลงในกราฟโดยใช้ Graph Wizard
การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment
Learning Communications
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
การปล่อย CO2 จากการใช้พลังงานของประเทศ
นางสาวชุติมา โพธิ์ป้อม นางสาวรุ่งนภา นาคเพ่งพิศ
การสืบพันธุ์ Reproduction.
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ
บทที่ 9 การอธิบายกระบวนการแบบต้นไม้.
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
แผนการดำเนินงานด้านระบบคุณภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
แสง และการมองเห็น.
บทที่ 5 ไคเซน.
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
การควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยใช้เชื้อราเขียว
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 รอบที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดสุรินทร์
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
Potato Family: Solanaceae Genus: Solanum Species: tuberosum
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
หลักการตลาด Principles of Marketing
การประชุมเพื่อกำหนดแนวทางกิจกรรมรองรับนโยบายการขายและการให้บริการ หน่วยธุรกิจโทรศัพท์ประจำที่และบรอดแบนด์ ปี 2560.
X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z
Newton’s Second Law Chapter 13 Section 2 Part 2.
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
ประกาศคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita ประสิทธิภาพของราสาเหตุโรคแมลง Beauveria bassiana และ Metarhizium anisopliae ในการควบคุม ไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita นางสาวอาภรณ์ ปั้นทองคำ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ความสำคัญของไส้เดือนฝอยรากปม ไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne spp. สามารถเข้าทำลายพืชได้ทั้ง พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ พืชไร่ และไม้ผล พืชที่ถูกทำลายมีราก บวมพอง เป็นปุ่มปม (root knot) ไม่เป็นระเบียบและกุดสั้น ลักษณะอาการรากปมในมะเขือเทศ ลักษณะอาการรากปมในข้าว

ลักษณะอาการรากปมในพริก ลักษณะการเข้าทำลายของไส้เดือนฝอยในมันสำปะหลัง มันสำปะหลังที่ถูกทำลาย ไม่สามารถสะสมอาหารที่หัวมันได้ หรือหัวไม่พัฒนา ลักษณะการเข้าทำลายของไส้เดือนฝอยในมันสำปะหลัง

ลักษณะโดยทั่วไปของไส้เดือนฝอยศัตรูพืช Source: woods (1993)

เชื้อราสาเหตุโรคแมลง NBCRC เชื้อราสาเหตุโรคแมลง

เชื้อราบิวเวอร์เรีย (เชื้อราขาว) Beauveria bassiana เชื้อราในจานอาหารเลี้ยงเชื้อ สปอร์ของเชื้อรา

เชื้อราเมทตาไรเซียม (Metarhizium anisopliae) สปอร์ของเชื้อรา เชื้อราในจานอาหารเลี้ยงเชื้อ

กลุ่มไข่ไส้เดือนฝอยรากปมที่ถูกเชื้อราเข้าทำลาย Beauveria bassiana Metarhizium anisopliae Paecilomyces lilacinus Trichoderma harzianum

ไข่ไส้เดือนฝอยรากปมที่ถูกเชื้อราเข้าทำลาย Beauveria bassiana Metarhizium anisopliae Paecilomyces lilacinus Trichoderma harzianum

ไข่ไส้เดือนฝอยรากปมที่ถูกเชื้อราบิวเวอร์เรีย (Beauveria bassiana) เข้าทำลาย

ไข่ไส้เดือนฝอยรากปมที่ถูกเชื้อรา เมทตาไรเซียม (Metarhizium anisopliae) เข้าทำลาย

ไข่ไส้เดือนฝอยรากปมที่ถูกเชื้อราเมทตาไรเซียม (Metarhizium anisopliae) เข้าทำลาย

ไข่ไส้เดือนฝอยรากปมที่ถูกเชื้อราเพลซิโลมัยซิส (Paecilomyces lilacinus) เข้าทำลาย

ไข่ไส้เดือนฝอยรากปมที่ถูกเชื้อราเพลซิโลมัยซิส (Paecilomyces lilacinus) เข้าทำลาย

ตัวอ่อนระยะที่2ของไส้เดือนฝอยรากปมที่ถูก เชื้อราบิวเวอร์เรีย (Beauveria bassiana) เข้าทำลาย

ตัวอ่อนระยะที่ 2ของไส้เดือนฝอยรากปมที่ถูก เชื้อราเมทตาไรเซียม (Metarhizium anisopliae) เข้าทำลาย

ตัวอ่อนระยะที่ 2 ของไส้เดือนฝอยรากปมที่ถูก เชื้อราเพลซิโลมัยซิส (Paecilomyces lilacinus) เข้าทำลาย

เปอร์เซ็นต์การเข้าทำลายของเชื้อรา Beauveria bassiana, Metarhizium anisopliae, Paecilomyces lilacinus และ Trichoderma harzianum ต่อกลุ่มไข่ ไข่ และตัวอ่อนระยะที่ 2 (J2) ของไส้เดือนฝอยรากปม ในระยะเวลา 10 วัน Egg mass egg J2

เชื้อราเพลซิโลมัยซิสสามารถเข้าทำลายกลุ่มไข่ได้ดีกว่าเชื้อราบิวเวอร์เรีย เมทตาไรเซียม และไตรโคเดอร์มา โดยสามารถเข้าทำลายได้ 90%, 63.34%, 50% และ 40% ตามลำดับ เชื้อราเพลซิโลมัยซิส เชื้อราบิวเวอร์เรีย และเชื้อราเมทตาไรเซียม มีความสามารถในการเข้าทำลายไข่ของไส้เดือนฝอยรากปมได้ 99%, 99% และ 98.8% ตามลำดับ ไม่แตกต่างกันทางสถิติ

เชื้อราบิวเวอร์เรีย และเชื้อราเมทตาไรเซียสามารถเข้าทำลายตัวอ่อนระยะที่ 2 ได้ 81.5% และ 79.9% ตามลำดับ เชื้อราเพลซิโลมัยซิส สามารถเข้าทำลายตัวอ่อนระยะที่ 2 ได้เพียง 8.2% และเชื้อราไตรโคเดอร์มา ไม่สามารถเข้าทำลายตัวอ่อนระยะที่ 2 ได้ เชื้อราสาเหตุโรคแมลง ได้แก่ เชื้อราเพลซิโลมัยซิส เชื้อราบิวเวอร์เรีย และเชื้อราเมทตาไรเซียมสามารถเข้าทำลายไส้เดือนฝอยรากปมได้

ขอบคุณภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยานิพนธ์นี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทบัณฑิตศึกษาจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2559 ขอบคุณภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอบคุณ ผศ.ดร.อนงค์นุช สาสนรักกิจ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก