ความรู้เรื่องเครื่องปรับอากาศในอาคาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นทางเทคนิคบางอย่างเกี่ยวกับพลังงาน
Advertisements

Air Condition Efficiency Meter เครื่องวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ
บริษัท เทคนิเคิล ซัพพอร์ท แอนด์ เซอร์วิส จำกัด
ระบบทำความเย็นโดยใช้พลังงานความร้อนจากรังสีอาทิตย์
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
Merchant Marine Training Centre วิชาการเป็นเลิศ เชิดชู คุณธรรม ผู้นำ.
Preventive Pollution Control4 Mass and Water Balance
Princess Palace Hotel, Bangkok
ก๊าซธรรมชาติ 1 1.
ระบบเครื่องปรับอากาศ
ความหมายของเครื่องปรับอากาศ
kG/Month Baht/Month Efficiency Chemical dosage Maintenance cost kW/RT
งานวิจัย (Thesis Project)
สถานการณ์การใช้พลังงาน และมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐ ภาคธุรกิจท่องเที่ยว นางเอมอร ชีพสุมล รองผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 27 พฤษภาคม 2559 การบรรยายพิเศษ.
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
“ศึกษาการประยุกต์ใช้ พลังงานรังสีอาทิตย์ร่วมกับ พลังงานไฟฟ้าช่วยในการ กลั่นเอทานอล” พรประสิทธิ์ คงบุญ และคณะ, 2549, การกลั่นเอทานอลโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์
ภาพรวมพลังงาน.
วิชา ฮาร์ดแวร์ และการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ง33222
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ความรู้เรื่องอัคคีภัย Fire Prevention And Control
ดับเพลิงขั้นต้น ทรงพล หอมอุทัย.
พลังงานทดแทน Alternative Energy
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ที่ว่างเพื่อการปฏิบัติงาน
หลักการผลิต ระบบส่งจ่าย และ ระบบจำหน่าย
ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature)
ระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า Unit 1.
การหาประสิทธิภาพระบบ เครื่องทำความเย็น (Chiller)
ภาพรวมพลังงาน.
Piyadanai Pachanapan, Electrical System Design, EE&CPE, NU
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
Project based Learning
บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
ความรู้เรื่องเครื่องปรับอากาศในอาคาร
พลังงานกับการดำรงชีวิต
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560
ความร้อน ความร้อน คือ รูปหนึ่งของพลังงาน เกิดจากการ
พลังงาน (Energy).
ระบบประสาทและ การแสดงพฤติกรรม.
เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน
นามบัตร 1. เริ่มจากการทำด้านหน้าของนามบัตร เลือกเครื่องมือ Rectangle Tool (M)   แล้วคลิกที่พื้นที่การทำงาน 1 ครั้ง จะมี Options ขึ้นมา ให้กำหนดขนาด 3.5”
หม้อไอน้ำ (Boilers).
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคต้น ปีการศึกษา 2561
การพัฒนางานเภสัชกรรม
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
การดำเนินงานของคลัสเตอร์พลังงานResearch University Network – Energy
หน้าจอหลักของ บก. เข้าสู่โปรแกรมที่
การบดอัดดิน.
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
การวิเคราะห์กิจการเพื่อการวางแผน
การพัฒนาและติดตั้งระบบ
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
คุณภาพของผักหลังการเก็บเกี่ยว
ระบบทำความเย็น.
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
ระบบไอดีไอเสียรถยนต์
รายวิชา ISC2101 ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
By Poonyaporn Siripanichpong
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
เครื่องทำความเย็นด้วยเพลเทียร์
จุดประสงค์รายวิชา.
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
World window.
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ ของ ภ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เรื่องเครื่องปรับอากาศในอาคาร Air Condition System ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์

เนื้อหา ชนิดเครื่องปรับอากาศในอาคาร การเลือกขนาดเครื่องปรับอากาศในอาคาร การเลือกชนิดเครื่องปรับอากาศในอาคาร ค่า EER และพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ การเลือกตำแหน่งที่ติดตั้ง

ชนิดเครื่องปรับอากาศ 1. แบบติดหน้าต่าง (Window Type) 2. แบบแยกส่วน (Splite Type) 3. แบบเคลื่อนที่ได้ (Portable Type) 4. แบบคลาสเซ็ท (Cassette Type) 5. แบบเปลือย 6. แบบเครื่องชนิดทำน้ำเย็น (Water Chiller)

1. แบบติดหน้าต่าง (Window Type) ตัวเครื่องจะมีขนาด ประมาณ 0.7-2.5 ตัน เหมาะกับห้องที่ติดตั้งวงกบหน้าต่าง มีกระจกช่องแสงปิดตาย บานกระทุ้งหรือบานเกล็ด ข้อดี - การติดตั้งเคลื่อนย้ายสะดวกและรวดเร็ว ข้อเสีย - หากเครื่องมีขนาดใหญ่เกินไปจะมีปัญหาในการติดตั้ง - กินไฟสูงและมีเสียงดังกว่าทุกประเภท

2. แบบแยกส่วน (Splite Type) แยกเอาส่วนที่เป่าลมเย็นออกจากตัวเครื่องระบายความร้อน โดยมีขนาดตั้งแต่ 1- 50 ตัน ข้อดี : - ไม่ค่อยมีเสียงดังรบกวน เหมาะกับห้องนอนที่ต้องการความเงียบ ข้อเสีย : - มีความยุ่งยากในการติดตั้ง เพราะต้องคำนึงถึงการเดินท่อระหว่าง เครื่องที่แยกส่วน

3. แบบเคลื่อนที่ได้ (Portable Type) ตัวเครื่องมีขนาดกระทัดรัด เคลื่อนย้ายได้ง่าย เนื่องจากติดตั้งตัวล้อไว้ที่ฐาน ข้อดี : - เคลื่อนย้ายไปทุกที่ได้สะดวก น้ำหนักเบา ใช้งานง่ายและกินไฟน้อย ข้อเสีย : - ใช้ได้กับห้องที่มีขนาดไม่ใหญ่มาก ประมาณ 10-13 ตารางเมตร

4. แบบคลาสเซ็ท (Cassette Type) การทำงานเหมือนชนิดแยกส่วน (Splite Type) แต่จะติดตั้งฝังไว้ในเพดาน

5. แบบเปลือย การทำงานเหมือนชนิดแยกส่วน (Splite Type) แต่จะติดตั้งฝังไว้ในฝ้า เพื่อความสวยงาม พบได้ตามโรงแรม และ สถานที่ที่ต้องการความสวยงาม

6. แบบเครื่องชนิดทำน้ำเย็น (Water Chiller) ระบบนี้ใช้น้ำเป็นตัวกลางในการสร้างความเย็น เหมาะใช้กับอาคารขนาดใหญ่ ตัวเครื่องมีน้ำหนักตั้งแต่ 100 ตันขึ้นไป 1. Air Cooled Water Chiller 2. Water Cooled Water Chiller ข้อดี : - กินไฟน้อยกว่าประเภทอื่น ข้อเสีย : - มีความยุ่งยากในการติดตั้งมาก และต้องเตรียมโครงสร้างให้แข็งแรง

บีทียู ( Btu : British Thermal Unit ) หน่วยที่ใช้วัดปริมาณความร้อนหน่วยหนึ่ง ความร้อน 1 Btu คือ ปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำ 1 ปอนด์มีอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 องศาฟาเรนไฮด์ สำหรับเครื่องปรับอากาศนั้นจะวัดกำลังความเย็นหรือความสามารถในการดึงความร้อน ( ถ่ายเทความร้อน ) ออกจากห้องปรับอากาศในหน่วย บีทียูต่อชั่วโมง ( Btu/h )

ขนาดเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสมกับห้องที่ต้องการติดตั้ง 1. ดูได้จากตาราง ขนาดพื้นที่ห้องเทียบความสูงของห้องปกติ ( ไม่เกิน 3เมตร ) พื้นที่ห้อง (ความสูงปกติ) ขนาดเครื่องปรับอากาศ

ขนาดเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสมกับห้องที่ต้องการติดตั้ง (2) 2.คำนวณจากสูตรสำเร็จ แบ่งเป็น 2.1) สำหรับผนังห้องที่เป็น คอนกรีต ขนาดเครื่องปรับอากาศ (Btu/hr) = (พื้นที่ห้อง  ตรม. x 700) - 800  2.2) สำหรับผนังห้องที่เป็น กระจก ขนาดเครื่องปรับอากาศ (Btu/hr) = (พื้นที่ห้อง  ตรม. x 850) - 1100  ** ข้อมูล : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (EGAT)

การเลือกชนิดเครื่องปรับอากาศในอาคาร 1. ห้องที่มีพื้นที่จำกัด เช่น ห้องชุด คอนโดมิเนียม - ควรใช้แบบแขวนใต้ฝ้าเพดาน (Cassette Type) 2. ห้องนอน - ควรเน้นประเภทที่เงียบเป็นพิเศษ และให้ความแม่นยำในการควบคุมอุณหภูมิเพื่อการพักผ่อนยาวนานตลอดคืน (แบบแยกส่วน, Split Type) 3. อาคารขนาดใหญ่ - นิยมใช้เป็นระบบปรับอากาศส่วนกลาง (Central Air)

ค่า EER และ พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ ค่า EER ย่อมาจาก Energy Efficiency Ratio คือ ขนาดทำความเย็น (บีทียู/ชั่วโมง) EER = กำลังไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมด ( วัตต์ ) * เครื่องปรับอากาศที่มีค่า EER ยิ่งสูง ก็แสดงว่าเครื่องปรับอากาศเครื่องนั้นยิ่งมีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดี  ประหยัดพลังงาน ** สามารถดูค่า EER ได้จากเอกสารของเครื่องปรับอากาศแต่ละยี่ห้อ *** ถ้ารู้ค่า Btu/hr กับ ค่า EER  รู้ค่ากำลังไฟฟ้าที่ใช้ได้

ค่า EER และ พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ ค่า EER ตั้งแต่ 7.6 ลงไป ถือว่าอยู่ในระดับ 1 มีเกณฑ์ต่ำ ค่า EER ตั้งแต่ 7.6-8.6 ถือว่าอยู่ในระดับ 2 มีเกณฑ์พอใช้ ค่า EER ตั้งแต่ 8.6-9.6 ถือว่าอยู่ในระดับ 3 มีเกณฑ์ปานกลาง ค่า EER ตั้งแต่ 9.6-10.6 ถือว่าอยู่ในระดับ 4 มีเกณฑ์ดี ค่า EER ตั้งแต่ 10.6 ขึ้นไป ถือว่าอยู่ในระดับ 5 มีเกณฑ์ดีมาก

การเลือกตำแหน่งที่ติดตั้ง 1. บริเวณที่สามารถระบายความร้อนได้สะดวก 2. ไม่โดนฝนสาดได้ง่าย 3. บริเวณที่ไม่ถูกแสงแดดส่องโดยตรงตลอดเวลา 4. บริเวณที่สามารถปล่อยให้เสียงและลมร้อนเป่าออกมาได้โดยไม่ รบกวนบริเวณข้างเคียง 5.ตำแหน่งติดตั้งควรมีโครงสร้างแข็งแรง หรือใกล้คานหรือเสา เพื่อรับน้ำหนักตัวเครื่องได้ดี

6. ตัวเครื่องควรยกระดับให้พ้นจากพื้นดินอย่างน้อย 10 เซนติเมตร หรือพ้นจากระดับที่น้ำท่วมถึง และในบริเวณที่สามารถซ่อมบำรุง ได้ง่าย 7. หลีกเลี่ยงการติดตั้งในบริเวณที่มีโอกาสติดไฟเนื่องจากแก๊สรั่ว 8. หลีกเลี่ยงการติดตั้งในบริเวณที่มีกรดซัลไฟด์ เช่น บริเวณท่อระบาย น้ำทิ้ง 9. ตำแหน่งที่ไม่กีดขวางทางเดิน