การเสริมสร้าง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
Advertisements

เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
การสร้างความตระหนักในโรงเรียนวิถีพุทธ
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
อ.ดร.ชลายุทธ์ ครุฑเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
10 ข้อแตกต่างระหว่าง ผู้ชนะ กับ ผู้แพ้
ขดลวดพยุงสายยาง.
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเสริมสร้าง IQ/EQ ในเด็กวัยเรียน

IQ : คืออะไร ไอคิว (IQ) ย่อมาจากคำว่า Intelligence Quotient คือความฉลาดทางสติปัญญา เป็นตัวเลขแสดงระดับเชาวน์ปัญญาหรือความสามารถในการเรียนรู้ วิเคราะห์ทำความเข้าใจ แยะแยก สร้างความคิดรวบยอดและจดจำข้อมูลต่างๆ ค่าไอคิว ได้มาจากการตรวจวัด ด้วยแบบทดสอบที่เน้นการคิด การใช้เหตุผล การเชื่อมโยง การคำนวณ คนที่มีความฉลาดทางสติปัญญามากจะยิ่งมีไอคิวสูง

EQ คืออะไร ยกตัวอย่างกิจกรรมที่คุณครูคิดว่าเป็นการส่งเสริม EQ ชั้นเรียน ???????

EQ คืออะไร EQ : Emotional Quotient คือ ความฉลาดทางอารมณ์ที่จะช่วยให้คนเรา - รู้จักและเข้าใจอารมณ์ทั้งของตนเองและผู้อื่น - รู้จักปรับใจและปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมและมีความสุข - ยังไม่สามารถวัดออกมาเป็นคะแนนเป็นแค่การประเมินเพื่อให้ ผู้วัดมองเห็นความบกพร่องของความสามารถทางด้านอารมณ์ที่ต้องพัฒนาแก้ไขเท่านั้น

มีองค์ประกอบ 3 ด้าน 1. ดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุมตนเอง รักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่นและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม 2. เก่ง หมายถึง ความสามารถในการรู้จักตนเอง คิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีแรงจูงใจในตนเองมุ่งมั่นทำให้สำเร็จ ตัดสินใจแก้ปัญหาและแสดงออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สุข หมายถึง ความสามารถในการดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข

ดี ก่อนวัยเรียน วัยเรียน 3-5 ปี 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี 1. ควบคุมอารมณ์:ยับยั้งได้ รู้จักรอ 2. ใส่ใจและเข้าใจอารมณ์ผู้อื่น:รับฟัง เห็นอกเห็นใจ ใส่ใจ 3. ยอมรับผิด:รู้อะไรดี ไม่ดี ยอมรับถ้าทำไม่ดี ไม่ถูกต้อง 1. รู้จักอารมณ์:อารมณ์ตนเอง การแสดงออกอารมณ์ตนเองและผู้อื่น 2. มีน้ำใจ:สนใจ แบ่งปัน ช่วยเหลือ 3. รู้ว่าอะไรถูกอะไรผิด 1. ควบคุมตนเอง:ความต้องการ และพฤติกรรม 2. เห็นใจผู้อื่น:ผูกพัน เข้าใจ เห็นใจ 3. รับผิดชอบ:ตนเอง ผู้อื่น ส่วนรวม ก่อนวัยเรียน 3-5 ปี วัยเรียน 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี

เก่ง ก่อนวัยเรียน 3-5 ปี วัยเรียน 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี 1. มุ่งมั่นพยายาม:มีสมาธิ มีความตั้งใจ 2. ปรับตัวต่อปัญหา:มีปัญหาหาทางออก หาข้อตกลง 3. กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม:แสดงความสามารถ กล้าถาม ให้ข้อคิดเห็น 1. กระตือรือร้น/สนใจใฝ่รู้:ซักถาม หาด้วยตนเอง 2. ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง: ยอมรับ ยืดหยุ่น 3. กล้าพูดกล้าบอก:ความรู้สึก ความต้องการ เรื่องราว 1. มีแรงจูงใจ:กระตุ้นตนเองให้ฝ่าฟันอุปสรรค ทำสิ่งต่างๆให้สำเร็จ 2. ตัดสินใจและแก้ไขปัญหา: กล้าตัดสินใจ จัดการปัญหาเหมาะสม 3. สัมพันธภาพ:สื่อสารทั้งบอกเล่าและโต้แย้ง ก่อนวัยเรียน 3-5 ปี วัยเรียน 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี

สุข ก่อนวัยเรียน 3-5 ปี วัยเรียน 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี 1. พอใจในตนเอง:ไม่อาย ไม่น้อยใจ บอกสิ่งที่ดี ภูมิใจ 2. รู้จักปรับใจ: อารมณ์เสีย น้อยใจ โกรธไม่นาน ยืดหยุ่น ไม่เรียกร้อง คร่ำครวญ 3. รื่นเริงเบิกบาน:สร้างความสนุกสนาน รู้จักผ่อนคลาย 1. มีความพอใจ:ที่ได้รับความรัก ความสนใจ ความชื่นชม 2. อบอุ่นใจ:ที่ได้รับการปกป้องคุ้มครอง 3. สนุกสนานร่าเริง:กับการเล่นตามลำพังและกับผู้อื่น 1. ภูมิใจในตนเอง:ตนเองมีคุณค่าเมื่อทำสำเร็จแม้ไม่มีใครชม 2. พอใจในชีวิต:ตั้งเป้าที่เหมาะสม คิดบวก 3. สุขสงบทางใจ:สุขเมื่อทำดี ก่อนวัยเรียน 3-5 ปี วัยเรียน 6-11 ปี วัยรุ่น-ผู้ใหญ่ 12-60 ปี

ความสำคัญของการพัฒนาEQ ไอคิวและอีคิว มีบทบาทอย่างไรต่อความสำเร็จ ไอคิวและอีคิว เป็นความความฉลาดที่ เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน คนที่ไอคิวดี+อีคิวดี = มีโอกาสในการ ประสบความสำเร็จมากขึ้น การมีไอคิวดี จะช่วยให้เรียนรู้การ ควบคุมและจัดการอารมณ์ ได้เร็ว การมีอีคิวดี จะช่วยให้ใช้ ความสามารถทางสติปัญญาได้เต็มที่

ความสัมพันธ์ระหว่าง ไอคิวและอีคิว สำเร็จในชีวิต เด็กที่ฉลาด ดี เก่ง สุข เด็กปรับตัวได้ดี รับมือกับปัญหาได้ จากการวิจัย พบว่า คนที่ประสบความสำเร็จในชีวิต อีคิวมักจะนำไอคิว จึงต้องควรพัฒนาไปพร้อมๆ กัน

การส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ การรู้จักตนเอง มีเอกลักษณ์ในตนเอง มีความพึงพอใจ และเห็นคุณค่าในตนเอง การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น และการรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม แนวทางการส่งเสริม/ดูแลและช่วยเหลือเพื่อพัฒนา การจัดการกับอารมณ์ ความเครียด มีทักษะในการควบคุมอารมณ์ และการตัดสินใจแก้ปัญหาความขัดแย้งอย่างสันติวิธี สมาธสั้น ความสามารถในการสร้างวงจรชีวิตที่มีความสุข ให้มีกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และสามารถหาความสุขที่ไม่ทำร้ายตนเองและผู้อื่น

เป้าหมายการพัฒนาอีคิวเด็กนักเรียน 1. มุ่งมั่นพยายาม 2. ปรับตัวต่อปัญหา 3. กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม 1. ควบคุมอารมณ์ตัวเองได้ 2. ใส่ใจและเข้าใจอารมณ์อารมณ์ผู้อื่น 3. ยอมรับผิด 1. พอใจในตนเอง 2. รู้จักปรับใจ 3. รื่นเริงเบิกบาน ง ดี เก่ง สุข

แนวทางการดูแลอีคิวเด็ก

กิจกรรมเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กทั้งในและนอกห้องเรียนที่นักเรียนทุกคนต้องทำ กิจกรรมในชั้นเรียนตามแผนการจัดกิจกรรม กิจกรรมบูรณาการ เป็นกิจกรรมนอกหลักสูตร สมาธสั้น

กิจกรรมการเสริมสร้างอีคิว

กิจกรรมการเสริมสร้างอีคิว

กิจกรรมการเสริมสร้างอีคิว

การดูแลสุขภาพจิตของผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแล

การดูแลสุขภาพจิตของผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแล สมาธิและสติ เป็นเครื่องมือจัดการความเครียดความโกรธ ความวุ่นวายในใจที่มีประสิทธิภาพ สมาธิ - การระลึกรู้อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างต่อเนื่อง เช่น ลมหายใจ พุทโธ ท้องพองยุบ ดวงแก้ว พระผู้เป็นเจ้า บทสวด จะทำให้เกิดความสงบ สบาย ผ่อนคลาย จิตมีกำลัง สติ - การระลึกรู้ทันสิ่งที่เกิดขึ้นในใจในปัจจุบันขณะ เช่น อารมณ์ ความคิด

การดูแลสุขภาพจิตของผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแล

การดูแลสุขภาพจิตของผู้ปกครอง/ครู/ผู้ดูแล ฝึกรู้ลมหายใจโดยการนั่งหลับตาสบายๆ ผ่อนคลาย สังเกตร่างกายตัวเองกำลังหายใจ ท่านใดถนัดดูท้องพองยุบ ให้ดูท้องพองยุบ ท่านใดถนัดท่องพุทโธ ให้ท่องพุทโธ ท่านใดระลึกถึงพระผู้เป็นเจ้าแล้วใจสงบ ให้ระลึกถึงพระผู้เป็นเจ้า หากมีความคิดเกิดขึ้น ให้รู้เพียงว่ามีความคิดเกิดขึ้น แล้วกลับมา ระลึกรู้ลมหายใจ/ท้องพองยุบ/พุทโธ/พระผู้เป็นเจ้าตามเดิม ใช้เวลา 5 นาที