การตรวจสอบภายในภาครัฐ ตามมาตรฐาน การตรวจสอบภายใน กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล
โครงสร้าง กลไกและระบบงานเกี่ยวกับการควบคุมกำกับองค์กร Chief Executive Officer (CEO) แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี ภารกิจตรวจสอบ ประเมินผล และพัฒนา Direct access / report directly แผนของหน่วยปฏิบัติ ผู้ตรวจสอบภายใน คตป. สอบทานรายงานการ ตรวจราชการ การตรวจ สอบภายใน การควบคุม ภายในและการบริหาร ความเสี่ยง การปฏิบัติ ราชการตามคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ และรายงาน การเงิน รวมทั้งการสอบทาน กรณีพิเศษ Assurance work Performance monitoring & evaluation ผู้ตรวจราชการ Capacity-building & Organization Development และส่งเสริม ธรรมาภิบาลภาครัฐ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Governance) ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Governance) การบริหารความเสี่ยงRisk Management การควบคุมภายใน (Internal Control) การตรวจสอบภายใน (Internal Audit)
งานตรวจสอบภายใน คือ ? ประเมิน วิธีการ ให้ความเชื่อมั่น ให้คำปรึกษา มาตรฐาน & จริยธรรม เที่ยงธรรม & อิสระ วัตถุประสงค์ เพิ่มคุณค่า เกิดการปรับปรุง กิจกรรมที่ทำ ให้ความเชื่อมั่นต่อ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารหน่วยงานรับตรวจ ผู้รับการตรวจ หน่วยงานผู้กำกับดูแล การตรวจสอบภายใน เป็นเครื่องมือหรือกลไกที่สำคัญของฝ่ายบริหาร ในการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน และระบบการควบคุมภายในขององค์กร งานตรวจสอบภายในจะบรรลุผลสำเร็จ คือผู้บริหารสามารถนำผลผลิตของงานตรวจสอบภายในไปใช้ในการบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้ตรวจสอบภายในต้องมีความรู้ในหลักการ และวิธีการตรวจสอบ และต้องปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน งานตรวจสอบภายในเป็นงานให้ความเชื่อมั่น และให้หลักประกันอย่างเที่ยงธรรม และให้คำปรึกษาอย่างอิสระ เพื่อเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น รวมทั้งช่วยให้องค์กรบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ด้วยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมและการกำกัดูแลอย่างเป็นระบบ รวมทั้งการประเมินประสิทธิผลประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในทั้งด้านการเงินและการบริหารงาน ดูแลให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลที่ดี good governance และความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน ป้องกันการประพฤติมิชอบหรือการทุจริต และเป็นการลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ส่งเสริมให้มีการบันทึกรายการบัญชีและรายงานอื่น ๆ ตามความรับผิดชอบ บนพื้นฐานหลักความโปร่งใส ตรวจสอบได้ งานตรวจสอบภายในเป็นสัญญานเตือนภัยล่วงหน้า ความเสี่ยง การควบคุม การกำกับดูแล ประเมิน วิธีการ
การตรวจสอบการดำเนินงาน 4/5/2019 ผู้ตรวจสอบภายใน ทำอะไร ตรวจสอบ ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ Process Input Output Outcome Impact ทรัพยากร ระบบงาน การจัดการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุ้มค่า ความเสี่ยง ควบคุม กำกับดูแล ข้อมูลสารสนเทศ ตรวจสอบ พิเศษ ตรวจสอบ วิเคราะห์ ประเมิน ตรวจสอบ ด้านการเงิน บัญชี ด้านการ ปฏิบัติงาน ตรวจสอบผล การดำเนินงาน ตรวจสอบด้านกฎ/ระเบียบ กลุ่มงานมาตรฐานด้านการตรวจสอบภายใน กรมบัญชีกลาง
สิ่งที่ผู้ตรวจสอบภายในต้องรู้ นโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ ภารกิจของกระทรวงและกรม คำรับรองการปฏิบัติราชการ เทคนิคการบริหารจัดการ ของภาครัฐ ฯลฯ โครงสร้างการจัดองค์กร สายการบังคับบัญชา ตำแหน่งและอัตรากำลัง ขอบเขตการปฏิบัติงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานการตรวจสอบ ฯลฯ
หลักการตรวจสอบภายใน ต้องมีความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานที่ตรวจสอบ การบริหารงานภายในองค์กร โครงสร้างองค์กร สายงานการบังคับบัญชา กฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ที่บังคับใช้ภายในองค์กร มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติงาน การจัดซื้อจัดจ้าง การเงินการคลัง การงบประมาณ ระบบบริหารจัดการ และกฎระเบียบ ต่าง ๆ ต้องมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมภายในองค์กร
เน้นวัตถุประสงค์ร่วม บทบาท ผู้ตรวจสอบภายใน ยุคใหม่ ชี้แจงทำความเข้าใจ รายงาน อย่าง สร้างสรรค์ เข้าใจ ความรู้สึก การสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดี กับหน่วยรับตรวจ เน้นวัตถุประสงค์ร่วม
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในยุคใหม่ การพัฒนางานให้ทันสมัย ตรงกับความต้องการและวัตถุประสงค์ของฝ่ายบริหาร เน้น การตรวจสอบเพื่อการบริหาร (Management-Oriented Audit) การตรวจสอบตามผลการประเมินความเสี่ยง (Risk-Based Approach) ผู้ตรวจสอบภายใน ต้องเลือกกิจกรรมการตรวจสอบในเรื่องที่มีความเสี่ยงสูงก่อน รวมทั้งวางแผน และกำหนดเทคนิคการตรวจสอบที่เหมาะสม
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในยุคใหม่ (ต่อ) การตรวจสอบแบบมีส่วนร่วม (Participative Audit) ผู้ตรวจสอบภายใน ต้องมีการประชุมประสานกันระหว่างผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และผู้ตรวจสอบภายนอก ทั้งในการวางแผนและแก้ไขปัญหาร่วมกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจและยอมรับผลการตรวจสอบ อันมุ่งสู่เป้าหมายขององค์กร
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในยุคใหม่ (ต่อ) การตรวจสอบในเชิงรุกแบบก้าวหน้าและสร้างสรรค์ (Proactive and constructive) ผู้ตรวจสอบภายในทำหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุนและปลุกจิตสำนึกการควบคุมภายในด้วยตนเอง (Control Self-assessment) ของบุคลากรภายในองค์กร
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในยุคใหม่ (ต่อ) ผู้ตรวจสอบภายใน ต้องศึกษาความรู้ที่ทันสมัย เพื่อเสนอแนะกิจกรรมที่เพิ่มคุณค่า (Value added activities) ให้กับองค์กร
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในยุคใหม่ (ต่อ) การใช้เครื่องมือทางคอมพิวเตอร์และสารสนเทศสมัยใหม่ ผู้ตรวจสอบภายใน ต้องมีความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือตรวจสอบที่ทันสมัยเพื่อนำมาใช้ช่วยปฏิบัติงานของตน
(Regularity Audit or Financial การตรวจสอบภาครัฐแนวใหม่ ตรวจสอบแบบดั้งเดิม (Regularity Audit or Financial & Compliance Audit) ตรวจสอบการดำเนินงาน (performance Audit) การตรวจสอบ การเงิน/บัญชี (Financial Audit) การตรวจสอบ การปฏิบัติตาม ระเบียบ กม. (Compliance Audit) การตรวจสอบ การปฏิบัติตาม ระเบียบ กม. (compliance Audit) การตรวจสอบ ประสิทธิภาพ และความ ประหยัด (Efficiency & Economy Audit) การตรวจสอบ ประสิทธิผล และความ คุ้มค่าของเงิน ที่ใช้จ่ายไป (Efficiency & Audit)
operation วัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบภายใน Efficiency : ใช้ทรัพยากรเหมาะสม คุ้มค่า Economy : ทำงานบรรลุเป้าหมาย โดยประหยัด Effectiveness :บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เป็นประโยชน์ และมีคุณค่า
มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน เชื่อถือได้ ทันเวลา วัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบภายใน financial มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน เชื่อถือได้ ทันเวลา Financial ไม่ได้หมายถึงข้อมูลทางการเงินอย่างเดียว แต่รวมถึงข้อมูลที่เกิด จากการปฏิบัติงานของ Process ด้วย
วัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบภายใน Compliance มุ่งเน้นให้การปฏิบัติงานของ Process มีความถูกต้อง สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ หลักการ กฎ ระเบียบ และ กฎหมาย ที่เกี่ยว ทั้งภายใน และภายนอกองค์กร
ขอบเขตของงานตรวจสอบภายใน สอบทานความเชื่อถือได้ของข้อมูลสารสนเทศทาง การเงินการบัญชีและการดำเนินงาน สอบทานวิธีป้องกันดูแล ท/ส พิสูจน์ความมีอยู่ ประเมินการใช้ ท/ก เป็นไปโดยประหยัด คุ้มค่า สอบทานการดำเนินงาน ว่าสอดคล้องกับวัตถุ ประสงค์และเป้าหมาย รวมทั้งเป็นไปตามแผนที่ กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัด สอบทานและประเมินผลความเหมาะสมและความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายใน สอบทานระบบงานที่มีผลกระทบสำคัญต่อการดำเนินงานและการรายงานว่าได้ปฏิบัติที่สอบคล้องกับนโยบาย แผนงาน ระเบียบปฏิบัติที่กำหนดไว้รวมถึงกม.ที่เกี่ยงข้อง
คุณภาพของงานตรวจสอบภายใน 1. ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน 2. สร้างความพึงพอใจให้กับหน่วยรับตรวจ 3. ต้องมีระบบการประกันคุณภาพ
กระบวนการตรวจสอบภายใน ผลการประเมินความเสี่ยง ผลการประเมินความเสี่ยง แผนการ ตรวจสอบ แผนการ ปฏิบัติงาน ข้อตรวจพบ ปฏิบัติงาน ตรวจสอบ หารือ หน่วยรับตรวจ รายงานผล การตรวจสอบ ติดตามผล การตรวจสอบ
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
วิธีประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ ศึกษาพันธกิจองค์กรและภารกิจของแต่ละหน่วยงานในองค์กร ศึกษาวัตถุประสงค์ในระดับหน่วยงานและระดับกิจกรรม จัดทำและรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น โครงสร้างองค์กร โครงสร้างหน่วยงาน จำนวนอัตรากำลัง Flowchart ผังกระบวนการปฏิบัติงาน แผนการปฏิบัติงาน ระบบการควบคุมภายในของหน่วยงานและกิจกรรมต่างๆ การประเมินผลระบบควบคุมภายในของหน่วยงานและกิจกรรม 1 2 3 4
วิธีประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ การระบุความเสี่ยง 5 ด้านกลยุทธ์ (Strategic) โครงสร้างองค์กร นโยบายผู้บริหาร แผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคล
การระบุความเสี่ยง ด้านการดำเนินงาน (Operation) การมอบหมายงาน ระบบการควบคุมภายใน กระบวนการและวิธีการปฏิบัติงาน แผน/ผลการปฏิบัติงานตามแผน ระบบการสื่อสาร การตรวจสอบของ สตง./ตสน. ครุภัณฑ์/อุปกรณ์ การซ่อมบำรุงทรัพย์สิน
การระบุความเสี่ยง ด้านการเงิน (Financial) รายงานทางการเงิน งบประมาณ ด้านการปฏิบัติตามกม. ระเบียบ (Compliance) กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีการ แนวทางปฏิบัติ ต่าง ๆ
วิธีประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ การวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดลำดับความเสี่ยง นำผลการประเมินความเสี่ยงไปใช้วางแผนการตรวจสอบ พิจารณา นโยบายหน.ส่วนราชการ และกระแสความ สนใจของมวลชน เพิ่มเติมจากผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง 6 7 8
แผนการตรวจสอบระยะยาว (Long-Range Plan) การวางแผนการตรวจสอบ แผนการตรวจสอบระยะยาว (Long-Range Plan) กำหนดไว้ล่วงหน้าอย่างน้อย 3-5 ปี สอดคล้องกับนโยบายขององค์กร แผนการตรวจสอบประจำปี (Annual Plan) หรือแผนการตรวจสอบระยะสั้น มีระยะเวลา 1 ปี
การวางแผนการตรวจสอบ แผนตรวจสอบระยะยาว แผนตรวจสอบประจำปี กำหนดวัตถุประสงค์การตรวจสอบ จัดลำดับความสำคัญของกิจกรรม กำหนดระยะเวลาตรวจสอบ คำนวณคน/วัน ที่ใช้ในการตรวจสอบ กำหนดจำนวนผู้ตรวจและงปม.ที่ใช้ กำหนดวัตถุประสงค์การ ตรวจสอบ กำหนดขอบเขตการ ปฏิบัติงานตรวจสอบ กำหนดผู้รับผิดชอบการ กำหนดงบประมาณที่ใช้
การวางแผนการปฏิบัติงานตรวจสอบ ระบุหน่วยรับตรวจ กำหนดประเด็นการตรวจสอบ กำหนดวัตถุประสงค์การปฏิบัติงานตรวจสอบ กำหนดขอบเขตการปฏิบัติงาน จำนวนคน/วัน ที่ใช้ในการตรวจสอบ ผู้รับผิดชอบ กำหนดแนวทางการตรวจสอบ
การตรวจสอบผลการดำเนินงาน ความหมาย เป็นการตรวจสอบที่เน้นผลของการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริงในระหว่างดำเนินการและหรือที่แล้วเสร็จ ว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนงาน งาน / โครงการหรือไม่มีประสิทธิภาพและ สมประโยชน์เพียงใด โดยให้ความสำคัญกับผลงานที่เกิดขึ้นทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพ และการใช้ทรัพยากรภายใต้ระยะเวลาที่กำหนด
วัตถุประสงค์การตรวจสอบผลการดำเนินงาน เพื่อแสดงความเห็นว่าการดำเนินงานของหน่วยรับตรวจมีการดำเนินการตามแผนงานโครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป็นไปโดยประหยัด เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ & ได้ผลคุ้มค่า หรือไม่ และเป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และ กฏหมายหรือไม่
วิธีการตรวจสอบการดำเนินงาน ศึกษาจากเอกสารโครงการแผนงานและรายงานต่างๆ ประชุมปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับหน่วย งานผู้รับผิดชอบ ออกสำรวจศึกษาภาคสนามพื้นที่โครงการ สัมภาษณ์สังเกตการณ์และออกแบบสอบถาม ประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในด้านการ บริหาร & วิเคราะห์ระบบงาน ประยุกต์ใช้หลักการวิเคราะห์ วิจัย สถิติ คณิตศาสตร์ ประยุกต์ใช้ศาสตร์ความรู้หลาย ๆ สาขา
การตรวจสอบการดำเนินงาน กระบวนการ วางแผน การตรวจสอบ วางแผน การปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน ตรวจสอบ ติดตามผล การตรวจสอบ รายงานผล การตรวจสอบ
การจัดทำแผนการปฏิบัติงาน กำหนดประเด็น การตรวจสอบ กำหนดวัตถุประสงค์ การปฏิบัติงาน กำหนดขอบเขต การปฏิบัติงาน กำหนดแนวทาง การปฏิบัติงาน
ความเสี่ยง ประเด็นการตรวจสอบ แผนงาน งาน / โครงการ ไม่บรรลุเป้าหมาย / วัตถุประสงค์ Input Process Output Outcome ประเด็นการตรวจสอบ ผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ความเสี่ยงที่ได้จากขั้นตอนการวางแผน การร้องขอจากหน่วยรับตรวจ ข้อร้องเรียน เหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจของสาธารณชน การสำรวจข้อมูลเพิ่มเติม
หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ (CGIA) ตัวอย่างประเด็นการตรวจสอบ - การดำเนินงานล่าช้ากว่าแผน การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ข้อมูลทางการเงินไม่ถูกต้อง/ไม่ครบถ้วน/ไม่เป็นปัจจุบัน - ไม่ได้ผลผลิต/ผลงานเป็นไปตามเป้าหมาย - ผลผลิต/ผลงานไม่ได้ใช้ประโยชน์ - มีความซ้ำซ้อนในการดำเนินงาน เป็นประเด็นที่จะมีผลกระทบที่เป็นตัวแปรสำคัญต่อความ สำเร็จหรือล้มเหลวของกิจกรรม - มีดัชนีชี้วัดผลสำเร็จของกิจกรรมที่ชัดเจนและประเมินผลได้ - สามารถเสนอแนวทางแก้ไขที่เป็นรูปธรรมและปฏิบัติได้ ข้อควร คำนึงถึง - หลักสูตร Fundamental วิชา การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
การกำหนดแนวทางการปฏิบัติงาน เรื่องที่ตรวจสอบและวัตถุประสงค์การตรวจสอบ เกณฑ์ที่ใช้ในการตรวจสอบ เพื่อเป็นเครื่องมือใช้สรุปผลการตรวจสอบ 1. เกณฑ์ของหน่วยรับตรวจ 2. เกณฑ์ที่กำหนดร่วมกับหน่วยรับตรวจ 3. เกณฑ์ที่ผู้ตรวจสอบภายในกำหนดเอง (ควรให้หน่วยรับตรวจทราบด้วย) วิธีการตรวจสอบให้ได้มาซึ่งหลักฐาน / ข้อเท็จจริงที่จะได้ข้อตรวจพบ 5 เรื่อง 1. สิ่งที่ควรจะเป็น (Criteria) 2. สิ่งที่เป็นอยู่ (Condition) 3. ผลกระทบ ( Effects) 4. สาเหตุ ( Cause) 5. ข้อเสนอแนะ ( Recommendation) แหล่งที่มาของข้อมูล
การปฏิบัติงานตรวจสอบ จัดเตรียม กระดาษทำการ ตรวจสอบ / รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ / ประเมินผล สรุปประเด็น ข้อตรวจพบ บันทึกข้อมูล กระดาษทำการ สำหรับบันทึกข้อมูล ที่ได้จากการตรวจสอบ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบเก็บข้อมูล แบบสรุปประเด็น ข้อตรวจพบ เป็นต้น น่าเชื่อถือ เพียงพอ เกี่ยวข้อง มีประโยชน์ สิ่งที่ควรจะเป็น สิ่งที่เป็นอยู่ ผลกระทบ สาเหตุ ข้อเสนอแนะ บันทึกข้อมูลที่ได้ จากการตรวจสอบ ทั้งหมดไว้ใน กระดาษทำการ ที่จัดเตรียมไว้ วิเคราะห์ว่าการ ดำเนินงานจริง แตกต่างจากแผน หรือเกณฑ์การ ตรวจสอบหรือไม่ ประเมินผลว่า มีผลกระทบ สาเหตุ และข้อเสนอแนะ อย่างไร
การสรุปประเด็นข้อตรวจพบ สิ่งที่ควรจะเป็น / หลักเกณฑ์มีอะไร? (Criteria) มีผลแตกต่างที่ก่อให้ เกิดผลกระทบอะไร? (Effect) สิ่งที่เป็นอยู่ / ข้อเท็จจริง เป็นอย่างไร? (Condition) มาจากสาเหตุอะไร? (Cause) ข้อเสนอแนะเพื่อ แก้ไขสาเหตุอย่างไร? (Recommendation)
การรายงานผลการตรวจสอบ รวบรวมข้อมูล คัดเลือกข้อมูล ร่างรายงาน เสนอรายงาน เสนอรายงานต่อ หัวหน้าส่วนราชการ รวบรวมข้อมูลจาก กระดาษทำการ และสอบทานความ ถูกต้องของข้อมูล อีกครั้งหนึ่ง คัดเลือกเฉพาะ ข้อตรวจพบที่มีปัญหา ที่สำคัญ ปัญหาที่ไม่สำคัญ ควรชี้แจงให้หน่วยรับ ตรวจไปปรับปรุงแก้ไข ให้ถูกต้อง ร่างรายงานตาม ประเด็นข้อตรวจพบ ที่มีปัญหาที่สำคัญ - หารือหน่วยรับตรวจ
รายงานผลการปฏิบัติงาน บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 1. ข้อมูลกิจกรรมที่ตรวจสอบ (ความเป็นมา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย งบประมาณ) 2. ข้อความทั่วไปเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตรวจสอบ (วัตถุประสงค์ ขอบเขต วิธีการ ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบการตรวจสอบ 3. สรุปผลการตรวจสอบและข้อเสนอแนะ (สิ่งที่เป็นอยู่ สิ่งที่ควรจะเป็น ผลกระทบ สาเหตุ ข้อเสนอแนะ) 4. การติดตามผล รายละเอียดผลการตรวจสอบ 1. ผลการตรวจสอบ (สิ่งที่เป็นอยู่ สิ่งที่ควรจะเป็น ผลกระทบ สาเหตุ) 2. ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบภายใน 3. ข้อเสนอแนะของผู้รับตรวจ (ถ้ามี)
การติดตามผลการตรวจสอบ วางแผน การติดตามผล ติดตาม ผลการตรวจสอบ รายงาน ผลการติดตาม โดยคำนึงถึงเรื่อง ระยะเวลา บุคลากร และค่าใช้จ่ายในการ ติดตามผล ติดตามการสั่งการ ของหัวหน้าส่วนราชการ สอบทานการปฏิบัติงาน ของหน่วยรับตรวจ โดย ให้หน่วยรับตรวจรายงาน หรือติดตามเองตามระยะ เวลาที่กำหนดหรือในการ เข้าตรวจสอบครั้งต่อไป เรื่องปกติ รายงาน ไว้ตอนท้ายของรายงาน ผลการตรวจสอบครั้งต่อไป หรือรายงานแยกเฉพาะเรื่อง เรื่องจำเป็น / เร่งด่วน รายงานทันที ด้วยวาจา หรือลายลักษณ์อักษรแยก เฉพาะผลการติดตาม
กระดาษทำการ (working Papers) เป็นการจดบันทึกการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบ เป็นหลักฐานประกอบผลการปฏิบัติงานเป็นหลักฐาน ประกอบการวินิจฉัย แสดงความเห็นโดยการจดบันทึกของผู้ตรวจสอบ เป็นการรวบรวมหลักฐานจากการตรวจสอบ ควบคุมคุณภาพงานตรวจสอบ
กระดาษทำการ (working Papers) ความสำคัญ กระดาษทำการที่สมบูรณ์ถูกต้องเป็นประโยชน์ต่อผู้ตรวจ ใช้ประกอบความเห็นของผู้ตรวจในการเสนอรายงาน ใช้เป็นหลักฐานในการป้องกันจากการถูกกล่าวหาว่าปฏิบัติ งานโดยประมาทเลินเล่อ ใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบครั้งต่อไป ใช้เป็นแนวทางในการสอบทานรายงานการตรวจสอบ สอบทานคุณภาพงานตรวจสอบของผู้ใต้บังคับบัญชา
รูปแบบกระดาษทำการ (working Papers) กระดาษทำการซึ่งบันทึกหลักฐานต่าง ๆ ที่ได้จากการตรวจสอบ ประกอบด้วย 1. การสอบทานวิธีการควบคุมภายใน ประกอบด้วย แบบพิมพ์ แบบประเมิน แบบสอบถามที่เกี่ยวกับการควบคุมภายใน และ บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบ 2. แนวการตรวจสอบบัญชี (Audit Programs) แสดงกิจกรรม วิธี การแสดงโครงการปฏิบัติงานตรวจสอบและบันทึกผลงานที่ ทำแล้วเป็นขั้น ๆ หรือบันทึกผลการปฏิบัติงานของผู้ช่วย
รูปแบบกระดาษทำการ (working Papers) กระดาษทำการงบทดลอง หลังจากที่ตรวจสอบยอดคงเหลือในบัญชี ต่าง ๆ และปรับปรุงรายการถูกต้องตามหลักฐานต่าง ๆ รายการปรับปรุงและจัดประเภทใหม่ ในการตรวจสอบอาจพบข้อ ผิดพลาดต่าง ๆ ซึ่งผู้ตรวจสอบทำการปรับปรุงของตนเอง โดย บันทึกในกระดาษทำการรายการปรับปรุง สรุปยอดรายงานในงบการเงิน รายละเอียดประกอบยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภท การวิเคราะห์รายการในบัญชี
รูปแบบกระดาษทำการ (working Papers) งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ผลการยืนยันยอด หนังสือรับรองจากหน่วยงาน การคำนวณ สรุปข้อมูลจากหนังสือสัญญาและเอกสารสำคัญอื่น ๆ ควรถ่าย เอกสารคัดลอกรายการที่สำคัญไว้ในกระดาษทำการของผู้ตรวจสอบ บันทึกการตรวจสอบ เช่น การติดตามเรื่อง ประเด็นสำคัญในระหว่าง ปฏิบัติงาน 14. ร่างรายงานการตรวจสอบ
ประเภทของกระดาษทำการ (working Papers) กระดาษทำการที่ผู้ตรวจสอบจัดทำขึ้นเอง เช่น จดบันทึกขึ้น วิเคราะห์เปรียบเทียบ กระดาษทำการที่จัดทำโดยหน่วยรับตรวจ เช่น สำเนาเอกสาร ต่าง ๆ รายละเอียดต่าง ๆ กระดาษทำการที่ผู้ตรวจสอบได้รับจากบุคคลภายนอก เช่น หนังสือรับรองยอดต่าง ๆ
การสรุปผลจากกระดาษทำการ การสรุปแต่ละส่วนงานที่ตรวจสอบสรุปสาระสำคัญเป็นเรื่อง ๆ หรือ แต่ละส่วนที่ตรวจสอบแล้ว การสรุปแบบสถิติ เป็นการสรุปโดยใช้แบบสถิติในการรายงานผล การสรุปผลการประชุม ประเด็นต่าง ๆ ได้จากการประชุมผู้บริหาร การสรุปตามแนวการตรวจสอบ การสรุปข้อบกพร่อง
การสรุปผลการตรวจสอบ และการเขียนรายงาน เป็นการรวบรวมข้อมูลและกระดาษทำการ หลักฐานข้อเท็จจริงต่าง ๆ ปัญหาและข้อเสนอเพื่อจัดทำร่างรายงานการตรวจสอบ เป็นการสรุปผลการตรวจ ซึ่งประกอบด้วย ประเด็นต่าง ๆ ความ เพียงพอของกระดาษทำการ และเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่สนับสนุน ข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จัดแฟ้มการตรวจสอบให้เรียบร้อยและสมบูรณ์ ทั้งแฟ้มถาวรและแฟ้ม ประจำปี
หลักการเขียนรายงาน คุณค่าของรายงานผลการตรวจสอบขึ้นอยู่กับเทคนิค ในการรวมข้อมูลที่ดี มีข้อเสนอแนะที่สามารถนำไปปฏิบัติงานได้ เป็นรายงานที่สร้างสรรค์ ไม่กล่าวอ้างที่เป็นการละเมิดผู้ใด โดยมีเอกสารหลักฐาน สนับสนุน
สิ่งที่ควรคำนึงในการเขียนรายงาน ประโยชน์ที่ผู้ใช้รายงานจะได้รับจากรายงานนั้น เช่น อ่านแล้วสั่งการได้ แก้ไขได้ รายงานในเรื่องที่มีความสำคัญ เช่น เรื่องที่เป็น นโยบาย เรื่องที่มีสาระสำคัญ หรือเรื่องที่เกี่ยวกับ ทุจริต รายงานที่เสนอถูกต้องตรงกับข้อเท็จจริง และมีหลัก ฐานประกอบ ข้อเสนอแนะต้องเป็นประโยชน์และสามารถนำไป ปฏิบัติได้
หลักการเขียนรายงานที่ดี ควรเน้นสาระสำคัญของเรื่องที่รายงาน ที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร ซึ่งเป็น ผู้ใช้รายงาน สามารถใช้รายงานนั้น ในการบริหารและตัดสินใจได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตรงประเด็น มีรากฐานจากข้อเท็จจริง ทุกข้อความ ตัวเลข ตัวอักษร และการอ้างอิงมีหลักฐานประกอบมา จากแหล่งที่เชื่อถือได้ 2. ความถูกต้อง
หลักการเขียนรายงานที่ดี ใช้ถ้อยคำและภาษาที่ชัดเจนให้ความ หมายตรงตามที่ผู้เขียนต้องการสื่อให้ ผู้อ่านเข้าใจง่าย 3. ความชัดเจน หลีกเลี่ยงการใช้ข้อความเยิ่นเย้อ แต่ได้เนื้อหา สาระครบถ้วน เนื่องจากการใช้ประโยคที่ยาว เกินไปอาจทำให้ผู้อ่านเกิดความสับสน 4. ความกะทัดรัด เสนอรายงานภายในกำหนดเวลาที่เหมาะสม ที่สามารถนำผลจากรายงานไปปฏิบัติได้ทันต่อ การแก้ปัญหาความเสียหายต่าง ๆ 5. ทันเวลา
หลักการเขียนรายงานที่ดี หลีกเลี่ยงเสนอข้อบกพร่อง ควรเสนอแนะเพื่อ การปรับปรุงการปฏิบัติงาน 6. ความสร้างสรรค์ เลือกใช้ถ้อยที่สุภาพ สละสลวย สามารถเข้าใจ ทันที และควรหลีกเลี่ยงการตำหนิติเตียนบุคคล เพราะรายงานบางลักษณะสามารถให้คุณให้ โทษบุคคลได้ 7. การใช้ถ้อยคำ การจัดเรียงหัวข้อ การใช้ถ้อยคำ คำศัพท์ที่ใช้ ในรายงานควรจะเป็นแนวทางเดียวกัน 8. ความสม่ำเสมอ
หลักการเขียนรายงานที่ดี ระบุข้อบกพร่องให้ชัดเจนมีข้อเสนอแนะ ที่เหมาะสมและสมเหตุสมผล ชี้ให้เห็นประโยชน์ร่วมกัน และประโยชน์ ต่อหน่วยงาน ชี้ให้เห็นปัญหา ชี้ให้เห็นความจำเป็นที่ต้องแก้ไข ชี้ให้เห็นผลกระทบที่จะเกิดขึ้น 9. การจูงใจ มีลักษณะ จูงใจให้ผู้ อ่านสนใจ อยากอ่าน
รูปแบบการรายงาน รายงานด้วยวาจา กรณีที่พบเหตุการณ์ไม่ปกติ รายงานด้วยวาจา กรณีที่พบเหตุการณ์ไม่ปกติ อันอาจก่อให้เกิดความเสียหายทันทีเมื่อตรวจเสร็จ และพบความเสียหาย รายงานเป็นลายลักษณ์อักษร เป็นการรายงานตาม ปกติ
เนื้อหาของรายงานการตรวจสอบ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ขอบเขตการตรวจ / วิธีการตรวจ (ย่อ) สรุปผลการตรวจ (วรรคข้อเท็จจริง / วรรคข้อกฎหมาย) สาเหตุ ผลกระทบ (ถ้ามี) ข้อเสนอแนะ
การประเมินผลการควบคุมภายใน ของผู้ตรวจสอบภายใน
การประเมินผลการควบคุมภายใน เป็นการพิจารณาถึงความสัมฤทธิ์ผลของระบบการ ควบคุมภายในที่มีอยู่ในหน่วยงาน โดย เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับระบบการ ควบคุมภายในที่กำหนดไว้ว่ามีความสอดคล้อง หรือไม่ เพียงใด สอบทานระบบการควบคุมภายในว่ามีความ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบันหรือไม่ วิเคราะห์และหาสาเหตุที่เกิดขึ้น พร้อมข้อเสนอแนะ
การประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน 2.วางแผนประเมินผล รายงานการประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจ/องค์กร ปย.ปอ. 3.สอบทาน การปฏิบัติงาน 1.ศึกษา/รวบรวมข้อมูล 4.วิเคราะห์และประมวลผล 5.สรุปผลและ รายงาน หัวหน้าส่วนราชการ สตง. คตป.
การประเมินผลการควบคุมภายใน ข้อมูลการควบคุมภายใน เช่น ระบบการควบคุมภายใน รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ข้อสังเกตจากผู้สอบทาน (สตง.คตป. ตสน.) ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมภายใน เช่น โครงสร้างองค์กร และหน้าที่ความรับผิดชอบ ระบบงาน มาตรฐาน คู่มือ แนวปฏิบัติ กฏหมายระเบียบข้อบังคับ ประกาศ หลักเกณฑ์ แผนการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงานตามแผน การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคลากร 1.ศึกษา/รวบรวมข้อมูล
การประเมินผลการควบคุมภายใน กำหนดขอบเขต การประเมินผล เรื่อง กิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูง/นโยบาย/ ภารกิจหลัก/มีผลกระทบสูง เทคนิค แบบสอบถาม สัมภาษณ์ สังเกตการณ์ ประชุมเชิงปฏิบัติการ ระดมความคิด ความคิด/ ระดมสมอง จัดทำแผนภาพ 2.วางแผนประเมินผล ระยะเวลา การประเมินผล ระหว่างปี เป็นการประเมินผลการควบคุมภายใน ขณะเข้าตรวจสอบหน่วยรับตรวจ ตามแผนการตรวจสอบ สิ้นปี เป็นการประเมินตามระเบียบ คตง. ประเภท การประเมินผล * ตามวัตถุประสงค์การควบคุมภายใน * ตามองค์ประกอบการควบคุมภายใน * ตามกิจกรรมการควบคุมเฉพาะด้าน/งาน * ตามกิจกรรมการควบคุมโดยรวมของหน่วยงาน
เกี่ยวกับการจัดทำ เนื้อหา เปรียบเทียบการควบคุม การประเมินผลการควบคุมภายใน ประเด็นการประเมิน รายงานเกี่ยวกับ การควบคุมภายใน การปฏิบัติงานจริง 3.สอบทาน การปฏิบัติงาน สอบทานรายงาน เกี่ยวกับการจัดทำ เนื้อหา การเผยแพร่ เปรียบเทียบการควบคุม ภายในที่กำหนดตาม หลักการควบคุมภายใน ที่ดีกับการปฏิบัติงานจริง เทคนิคการประเมินผล
ประเด็นการวิเคราะห์/ประมวลผล 4.วิเคราะห์และประมวลผล การประเมินผลการควบคุมภายใน ประเด็นการประเมิน ประเด็นการวิเคราะห์/ประมวลผล รายงานการควบคุมภายใน การมีส่วนร่วม ครอบคลุมภารกิจหลัก เนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน สมเหตุ สมผล สอดคล้องกัน การควบคุมป้องกัน/ลดความเสี่ยงได้ การปฏิบัติงาน เป็นไปตามการควบคุมที่กำหนด สามารถลดความเสี่ยงได้จริง การปฏิบัติงานมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และประหยัด การควบคุมเพียงพอและเหมาะสม 4.วิเคราะห์และประมวลผล
การประเมินผลการควบคุมภายใน การสรุปผล ระดับผลสัมฤทธิ์ของระบบการควบคุมภายใน (การควบคุมภายในมีความเพียงพอ/เหมาะสม ในระดับสูง ปานกลาง ต่ำ) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข 5.สรุปผลและ รายงาน การรายงาน รายงานผลการตรวจสอบหน่วยรับตรวจ (กรณีมีการสอบทานการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจ) รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน : ปส.
รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายใน ของผู้ตรวจสอบภายใน (ปส.) เรียน (ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยรับตรวจ) ข้าพเจ้าได้สอบทานการประเมินระบบการควบคุมภายในของ (ชื่อหน่วยรับตรวจ) สำหรับ ปีสิ้นสุดวันที่ ..... เดือน................... พ.ศ. .... การสอบทานได้ปฏิบัติอย่างสมเหตุสมผลและระมัดระวัง อย่างรอบคอบ ผลการสอบทานพบว่าการประเมินผลการควบคุมภายในเป็นไปตามวิธีการที่กำหนด ระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตที่มีนัยสำคัญได้แก่ หน่วยงานให้ความสำคัญกับการจัดวางและประเมินผลการควบคุมภายในไม่มากเท่าที่ควร โดยมีการจัดวางและประเมินเพียงบุคคลกลุ่มเดียว ยังไม่มีการประชุมหารือและถ่ายทอดทั้งหน่วยงาน ทำให้บางกิจกรรมจึงยังไม่มีการดำเนินการตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้ ชื่อผู้รายงาน....................................................... (ชื่อหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน) ตำแหน่ง.............................................................. วันที่............เดือน...........................พ.ศ.............. จุดอ่อนที่มีนัยสำคัญ มาจาก การสอบทานแบบ ปย. ปอ. และ การปฏิบัติงานของหน่วยงาน
081-8895843 kingkarn2009@hotmail.com