การพัฒนาและการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หัวข้อการนำเสนอ ความเป็นมาภาพรวมซอฟต์แวร์ที่มีมาก่อนคุณสมบัติเด่นประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับแผนการพัฒนาและการให้บริการ 10/10/
Advertisements

Dublin Core Metadata tiac. or
สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย
EBook Collection EBSCOhost.
By… จิรวัฒน์ พรหมหร Book Promotion & Service Ltd
 Single search engine  Library catalog ; Library digital collection ; online databases.
ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ
Annual Reviews โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร Book Promotion & Service Co.,Ltd.
LOGO Open Source Software ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข Your Company Slogan.
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH,
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
การค้นหาข้อมูลวิทยานิพนธ์ และ งานวิจัย. ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง.
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
สมศักดิ์ อาภาศรีทองสกุล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การประชุมเตรียมความพร้อม การประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (Reading Test: RT) ชั้นประถมศึกษาที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2560.
การใช้งานฐานข้อมูล Emerald Insight
พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
Innovation and Information Technology in Education
ProQuest Dissertations & Theses
การพัฒนาตลาดสด น่าซื้อ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Road to the Future - Future is Now
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
Project Management Professional (PMP)
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง Management of Change
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมเพื่อการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง Factors Related to Readiness for Hospital Discharge.
Introduction to Data mining
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
Information and Communication Technology Lab 13
การประเมินคุณภาพหลักสูตรรายวิชา “
การพัฒนาการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
การถ่ายโอนบุคลากรสาธารณสุข
แนวทางการสร้าง Innovation Ecosystem ในมหาวิทยาลัย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
ความรู้เบื้องต้นโปรแกรม การป้อนข้อมูลบน Table
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
แผนบริหารความเสี่ยง (องค์กร) ปี 2562 มทร.พระนคร
Database ฐานข้อมูล.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM)
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
Line Manager is Leader.
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหาร สายสนับสนุนและช่วยวิชาการ
LIBRARY Chiang Mai University ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม
พระพุทธศาสนา.
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
By Personal Information Management
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
Homepage.
Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM
การสืบค้นงานวิจัยออนไลน์
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕
สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาและการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร Development and management of digital intellectual repository Silpakorn University สุนิศา รอดจินดา นพดล เอกผาชัยสวัสดิ์ หอสมุดสาขา วังท่าพระ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร

สาเหตุ ปัญหา ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการเรียนการสอนทางด้านศิลปะและโบราณคดี แห่งแรกในประเทศไทย ที่มีผลงานทางวิชาการ และผลงานทางศิลปะมาก โดยมีหน่วยงานทั้งหมด 9 หน่วยงาน คือ คณะจิตรกรรมฯ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะโบราณคดี คณะมัณฑนศิลป์ หอสมุดสาขา วังท่าพระ หอศิลป์ กองกิจการนักศึกษา กองบริการการศึกษา พบว่าในทุกหน่วยงานมีผลงานทางวิชาการและศิลปะจำนวนมาก บางหน่วยงานมีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบและไม่เป็นระบบ อีกทั้งมีปัญหาด้านสถานที่การจัดเก็บผลงาน เนื่องจากการจัดเก็บผลงานทางวิชาการของแต่ละหน่วยงานไม่มีระบบที่เป็นมาตรฐานในการจัดเก็บ ทำให้การสืบค้นข้อมูลตลอดจนการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้บริการนั้นทำได้ยาก รวมถึงไม่มีการเผยแพร่ผลงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยศิลปากร หอสมุดสาขา วังท่าพระ จึงมีแนวคิดในการจัดตั้งคลังปัญญา มหาวิทยาลัยศิลปากรขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางในการรวบรวม จัดเก็บผลงานทางวิชาการ และผลงานศิลปะ ให้มีระบบมีแบบแผนมากขึ้น โดยสามารถแก้ปัญหาด้านสถานที่การจัดเก็บผลงาน ทางวิชาการ ทั้งนี้หากมีระบบคลังปัญญามหาวิทยาลัยศิลปากร จะทำให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สามารถสืบค้นผลงานและเป็นการเผยแพร่ผลงานของมหาวิทยาลัยศิลปากร วัตถุประสงค์ ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล เพื่อการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อการพัฒนาคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร

กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร วิธีการดำเนินงาน (R&D) วัตถุประสงค์ วิธีการ กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร เครื่องมือ/สถิติ 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับคลังปัญญา ศึกษาแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอกสาร/งานวิจัย การวิเคราะห์การศึกษาเอกสาร   2.ศึกษาสภาพการณ์การจัดการคลังปัญญาในมหาวิทยาลัย 4 แห่ง และสภาพการณ์การจัดการผลงานทางวิชาการของคณะวิชา เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง ผู้ให้ข้อมูลหลัก บุคลากรของหน่วยงานที่ผู้วิจัยไปศึกษาดูงานการจัดการคลังปัญญาสถาบัน บุคลากรของคณะวิชา/หน่วยงาน มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ จำนวนรวม 26 คน แบบสัมภาษณ์ 4 ชุด สถิติที่ใช้คือความถี่และร้อยละ 3. ศึกษาความต้องการและรูปแบบคลังปัญญาดิจิทัลของประชาคม มหาวิทยาลัยศิลปากร เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการแจกแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างของนักศึกษา อาจารย์ ข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัย ที่ในมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ จำนวน 354 คน แบบสอบถาม 354 ชุด สถิติที่ใช้คือความถี่และร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-test ทดสอบรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ่ R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร วิธีการดำเนินงาน (R&D) วัตถุประสงค์ วิธีการ กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร เครื่องมือ/สถิติ 1. เพื่อออกแบบและและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย สังเคราะห์ เอกสาร การวิเคราะห์เนื้อหา 1.1 สังเคราะห์รูปแบบการจัดการคลังปัญญา 1.2 เพื่อรับรองความเที่ยงตรงของเนื้อหา ใช้แบบสอบถาม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดการคลังปัญญา จำนวน 3 คน แบบประเมินความสอดคล้อง/ค่าดัชนีความสอดคล้อง 2. เพื่อรับรองรูปแบบการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการคลังปัญญา จำนวน 5 คน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   3. เพื่อการดำเนินการพัฒนาคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร และประเมินผลการปฏิบัติงานของคลังปัญญา พัฒนาคลังปัญญาดิจิทัลตามรูปแบบที่สังเคราะห์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดการคลังปัญญา จำนวน 3 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านศิลปะ 2 คน R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร วิธีการดำเนินงาน (R&D) R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล วัตถุประสงค์ วิธีการ กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร เครื่องมือ/สถิติ 1. อบรมการใช้คลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเมินผลหลังจากอบรม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร วิธีการดำเนินงาน (R&D) R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา วัตถุประสงค์ วิธีการ กลุ่มเป้าหมาย/เอกสาร เครื่องมือ/สถิติ การประเมินผลและปรับปรุง ใช้แบบสอบถาม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

ผลการดำเนินงาน (R&D) จากการศึกษาสภาพการณ์ในการจัดการผลงานทางวิชาการ ในมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ 9 หน่วยงาน ผลการดำเนินงาน (R&D) หน่วยงานมีนโยบายการจัดเก็บผลงานทางวิชาการ ร้อยละ 66.6 หน่วยงานมีการวางแผนการจัดเก็บและให้บริการผลงานทางวิชาการเพื่อการเรียนรู้ ร้อยละ 66.6 หน่วยงานมีการจัดเก็บรวมรวมผลงานทางวิชาการ ร้อยละ 55.6 (วิธีการจัดเก็บ คือ ระบบมือ ร้อยละ 44.4 ผลงานที่จัดเก็บ คือ รายงานวิจัย ร้อยละ 44.4) หน่วยงานมีสถานที่จัดเก็บเป็นสัดส่วน ร้อยละ 55.6 หน่วยงานมีผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บ ร้อยละ 66.6 ปัญหาและอุปสรรค : สถานที่จัดเก็บมีไม่เพียงพอ ร้อยละ 33.3 และเสนอว่าควรมีหน่วยงานกลางทำหน้าที่ในการเก็บรวบรวมผลงานทางวิชาการ ร้อยละ 100 R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ : วิเคราะห์เอกสาร/แบบสัมภาษณ์/แบบสอบถาม D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา ความต้องการและรูปแบบคลังปัญญาดิจิทัลที่พึงประสงค์ของประชาคมมหาวิทยาลัยศิลปากร วิเคราะห์ข้อมูลจากการแจกแบบสอบถามแก่กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับกลับคืนจำนวน 338 ชุด มีระดับความต้องการรูปแบบคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากรในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ด้านการสืบค้นและแสดงผลการสืบค้น ด้านการเข้าถึงและการกำหนดสิทธิ์ ด้านอัตลักษณ์ของคลังปัญญาดิจิทัล พบว่ามีค่าเฉลี่ยในระดับมากเกือบทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือด้านอัตลักษณ์ของคลังปัญญาดิจิทัล ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดอยู่ในระดับปานกลางคือด้านการเข้าถึงและการกำหนดสิทธิ์ R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

สร้างรูปแบบ “CREATION Model ” ผลการดำเนินงาน (R&D) C : Content of Silpakorn University Repository (เนื้อหาสาระของคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร) RE : Retrieve and results (การค้นคืนและการแสดงผล) A : Authorization by Owner Rights and Silpakorn University (การกำหนดสิทธิ์โดยผู้ทรงสิทธิ์และประชาคมมหาวิทยาลัยศิลปากร) T : Technology for Repository (เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับคลังปัญญา) I : Identity of Silpakorn University (อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร) O : Open Access (การเข้าถึงแบบเสรี) N : Needs of Silpakorn University Community (ความต้องการของประชาคมมหาวิทยาลัยศิลปากร) - - - R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล D1: ออกแบบรูปแบบและพัฒนา R2: แนะนำและทดลองใช้ 1. รับรองรูปแบบด้านคลังปัญญาจากผู้เชี่ยวชาญด้านคลังปัญญา 5 ท่าน เพื่อประเมินและรับรองความเหมาะสมของรูปแบบ พบว่าผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นว่ารูปแบบเหมาะสมในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในระดับมากที่สุด คือด้านอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร (I=Identity of Silpakorn University) D2: ประเมินผลความพึงพอใจ 2.นำรูปแบบ CREATION Model มาพัฒนาคลังปัญญาดิจิทัล โดยใช้โปรแกรม Dspace 3. ประเมินผลความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของคลังปัญญาดิจิทัล จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน พบว่าอยู่ในระดับมาก (อันดับ 1 คือ ด้านความสะดวกในการใช้งาน , อันดับ 2 คือ ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชัน , อันดับ 3 คือ ด้านความปลอดภัยของข้อมูลในคลังปัญญาดิจิทัล)

ผลการดำเนินงาน (R&D) R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล แนะนำและทดลองใช้คลังปัญญา โดยการจัดอบรมความรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 45 คน *เป็นแบบสอบถามที่ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ ผู้อบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดการคลังปัญญา ร้อยละ 97.8 ได้รับความรู้เกี่ยวกับการค้นหาและการบันทึกข้อมูลคลังปัญญาดิจิทัล ร้อยละ 95.6 ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในเรื่องการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล ร้อยละ 42.2 R2: แนะนำและทดลองใช้ D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

ผลการดำเนินงาน (R&D) R1: ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล ประเมินผลการใช้และความพึงพอใจในการใช้งานคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีค่าเฉลี่ยความต้องการใช้ในภาพรวมในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การสืบค้นและการใช้ทางเลือกในการสืบคันด้วย Browse มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจที่มีต่อการใช้คลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากรในภาพรวมในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยในระดับมากสูงสุด คือ ด้านความต้องการของประชาคมมหาวิทยาลัยศิลปากร D2: ประเมินผลความพึงพอใจ

ผลปฎิบัติงาน ในการจัดทำคลังปัญญา

ผลปฎิบัติงาน ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล community แบ่งตามภาควิชา Collection บทความทางวิชาการ ผลงานศิลปะ วิทยานิพนธ์ ศิลปะนิพนธ์ รายงานการวิจัย เอกสารคำสอน เอกสารประกอบการบรรยาย

ผลปฎิบัติงานในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล

ผลปฎิบัติงาน ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล

ผลปฎิบัติงาน ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล

ประโยชน์ที่ได้รับ ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล ได้รูปแบบการจัดคลังปัญญาดิจิทัลของมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ต้นแบบจัดเก็บ ผลงานทางวิชาการและการสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะ การออกแบบ โบราณคดี งานอันมีเอกลักษณ์เฉพาะของมหาวิทยาลัยศิลปากร ช่วยสงวนรักษาผลงานทางวิชาการของนักวิชาการ นักวิจัย

ข้อเสนอแนะ ในการจัดทำคลังปัญญาดิจิทัล ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย นำเสนอให้ผู้บริหารมหาวิทยาลัยวิทยาลัยตระหนักถึงความสำคัญของการจัดทำคลังปัญญามหาวิทยาลัย ผู้บริหารมหาวิทยาลัยวิทยาลัยควรสนับสนุนงบประมาณสำหรับการจัดทำคลังปัญญา ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ จากผลการวิจัยที่พบว่าความพึงพอใจที่มีต่อการใช้คลังปัญญาดิจิทัล ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร คือขนาดของภาพไม่เหมาะสมและมีข้อมูลของนักวิชาการไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้ ดังนั้นจึงควรมีการพัฒนาและปรับปรุงข้อมูลให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

สร้างคลังปัญญามหาวิทยาลัย (SURE) นำผลจากการวิจัยมาพัฒนาคลังปัญญาของมหาวิทยาลัยศิลปากร

| ขอบคุณค่ะ