สถานการณ์คุณภาพอากาศและเสียง งานนำเสนอชุด สถานการณ์คุณภาพอากาศและเสียง เสนอให้ชม วันที่ 20 กันยายน 2552 ในงาน “CAR FREE DAY 2009”
สถานีตรวจวัด คุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ
สถานีตรวจวัด คุณภาพอากาศ และเสียง จังหวัด จน.สถานี กรุงเทพฯ 17 พระนครศรีอยุธยา 1 สมุทรปราการ 5 สระบุรี 2 ปทุมธานี ราชบุรี สมุทรสาคร ระยอง 4 นนทบุรี ชลบุรี 3 เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา ลำปาง สุราษฎร์ธานี นครสวรรค์ ภูเก็ต เชียงราย สงขลา แม่ฮ่องสอน นราธิวาส ขอนแก่น ยะลา นครราชสีมา รวม 55 สถานีตรวจวัด คุณภาพอากาศ และเสียง จังหวัด จน.สถานี กรุงเทพฯ 10 นครราชสีมา 1 ปทุมธานี สระบุรี 4 สมุทรสาคร ระยอง 2 นนทบุรี ชลบุรี 3 เชียงใหม่ ภูเก็ต ลำปาง สงขลา ขอนแก่น รวม 30 ตรวจวัด ระดับเสียง
สถานการณ์คุณภาพอากาศ
สถานการณ์ PM10 ในทุกภาคของประเทศ PM10 มีแนวโน้มลดลง
ฝุ่นขนาดเล็ก (PM10) เฉลี่ย 1 ปี ในภาคต่างๆ ปี 2540–2551
PM10 เฉลี่ยรายปีใน กทม. ปี 2538 – 2551
คุณภาพอากาศบริเวณ ริมถนน ใน กทม. ปี 2551 สารมลพิษทางอากาศ ช่วงค่า ที่วัดได้ เปอร์เซ็นไทล์ ที่ 95 Std. จน.ครั้งที่เกิน std/ จน.ครั้งที่ตรวจวัด (%) ค่าเฉลี่ย 1 ปี TSP เฉลี่ย 24 ชั่วโมง (มก./ลบ.ม.) 0.03 - 0.86 0.28 0.33 25/695(3.6) 0.14 PM10เฉลี่ย24 ชั่วโมง (มคก./ลบ.ม.) 8.1 - 205.4 113.6 120 82/2,000(4.1) 61.8 CO เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ppm) 0.0 - 16.4 3.5 30 0/64,716(0) 1.4 CO เฉลี่ย 8 ชั่วโมง (ppm) 0.0 - 10.0 3.1 9 7/65,491(0.01) O3 เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ppb) 0 - 116 37.0 100 10/25,988(0.04) 11 SO2 เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ppb) 0 - 45 12.0 300 0/25,566(0) 5 SO2 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง (ppb) 0 - 18 9.3 0/1,089(0) NO2 เฉลี่ย 1 ชั่วโมง (ppb) 0 - 177 70.0 170 1/26,169(0.004) 34 พบฝุ่นรวม (TSP) และ PM10 เกินมาตรฐาน
PM10 ที่เกินมาตรฐานในช่วงเดือนเมษายน – มิถุนายน 2552 พื้นที่ ต่ำสุด – สูงสุด (มคก./ลบ.ม) จน.วันที่เกินมาตรฐาน/จน.วันที่ตรวจวัด (%) กรุงเทพมหานคร (ริมถนน) 1. พระราม 6 2. พระราม 4 3. ดินแดง 40.6 – 144.7 39.5 – 134.9 24.8 – 131.2 5/79 (6.3) 1/84 (1.2) 1/90 (1.1) จังหวัดสมุทรปราการ 1. ศาลากลาง 2. โรงไฟฟ้าพระนครใต้ 3. การเคหะชุมชนบางพลี 4. ศูนย์ฟื้นฟูอาชีพฯ พระประแดง 5. กรมทรัพยากรธรณี 30.8 – 94.8 11.0 – 88.4 15.5 – 87.8 15.4 – 78.1 17.8 – 60.2 0/88 (0.0) 0/85 (0.0) 0/89 (0.0) 0/81 (0.0) 0/20 (0.0) ต่างจังหวัด 1. สภ.ตำบลหน้าพระลาน จ.สระบุรี 2. สนง.ทสจ.แม่ฮ่องสอน จ.แม่ฮ่องสอน 3. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ 4. ศาลหลักเมือง จ.ลำปาง 5. สนง.ทสจ.เชียงราย จ.เชียงราย 32.4 – 165.0 9.8 – 262.6 13.8 – 122.4 23.6 – 120.4 9.6 – 120.2 11/90 (12.2) 9/88 (10.2) 2/91 (2.2) 1/58 (1.7) 1/91 (1.1)
เป็นแหล่งกำเนิดหลักของมลพิษทางอากาศใน กทม. ยานพาหนะ เป็นแหล่งกำเนิดหลักของมลพิษทางอากาศใน กทม. PM10 มีแหล่งกำเนิดหลักจากรถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงดีเซล CO มีแหล่งกำเนิดหลักจากรถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงเบนซิน และ LPG
รถยนต์เครื่องยนต์ดีเซลที่มีมลพิษทางอากาศ เกินมาตรฐานใน กทม รถยนต์เครื่องยนต์ดีเซลที่มีมลพิษทางอากาศ เกินมาตรฐานใน กทม. ปี 2548-2551
รถยนต์เครื่องยนต์เบนซินที่มีมลพิษทางอากาศ เกินมาตรฐานใน กทม รถยนต์เครื่องยนต์เบนซินที่มีมลพิษทางอากาศ เกินมาตรฐานใน กทม. ปี 2548-2551
การเปรียบเทียบข้อมูลคุณภาพอากาศ ( PM10 และ CO ) ระหว่างวันหยุดกับวันทำงาน โดยใช้ข้อมูลเดือนสิงหาคม 2552 เปรียบเทียบระหว่างวันอาทิตย์ กับวันจันทร์
PM10 บริเวณถนนใน กทม. เดือนสิงหาคม 2552 ถ.พระราม 6 ถ.อินทรพิทักษ์ PM10 เฉลี่ย 24 ชม. (มคก./ลบ.ม.) PM10 เฉลี่ย 24 ชม. (มคก./ลบ.ม.) สัปดาห์ที่ สัปดาห์ที่ ถ.ลาดพร้าว ถ.ดินแดง PM10 เฉลี่ย 24 ชม. (มคก./ลบ.ม.) PM10 เฉลี่ย 24 ชม. (มคก./ลบ.ม.) สัปดาห์ที่ สัปดาห์ที่ มาตรฐานไม่เกิน 120 มคก./ลบ.ม.
CO บริเวณถนนใน กทม. เดือนสิงหาคม 2552 ถ.พระราม 6 ถ.อินทรพิทักษ์ CO เฉลี่ย 1 ชม.สูงสุด (ppm) CO เฉลี่ย 1 ชม.สูงสุด (ppm) สัปดาห์ที่ สัปดาห์ที่ ถ.ลาดพร้าว ถ.ดินแดง CO เฉลี่ย 1 ชม.สูงสุด (ppm) CO เฉลี่ย 1 ชม.สูงสุด (ppm) สัปดาห์ที่ สัปดาห์ที่ มาตรฐาน CO เฉลี่ย 1 ชั่วโมงไม่เกิน 30 ppm (ส่วนในล้านส่วน)
ผลการเปรียบเทียบข้อมูล PM10 และ CO พบว่า ในวันทำงาน มีปริมาณ PM10 และ CO สูงกว่าวันหยุด
สถานการณ์ระดับเสียง
ระดับเสียงในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ริมถนน ปี 2551 62.8-82.1 dBA (เกิน std. ร้อยละ 73) ค่าเฉลี่ย 70.0 dBA ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (dBA) มาตรฐาน : ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ พื้นที่ทั่วไป ปี 2551 50.5-80.7 dBA (เกิน std. ร้อยละ 1) ค่าเฉลี่ย 59.4 dBA
ระดับเสียงในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (จุดตรวจวัดชั่วคราว) สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร
10 ถนนที่มีปัญหามลพิษทางเสียงใน กรุงเทพมหานคร ปี 2551 เรียงลำดับ ระดับเสียงสูงสุดไปต่ำสุด ถ.ตากสิน ถ.บำรุงเมือง ถ.สุขุมวิท อนุสาวรียชัยสมรภูมิ ถ.อิสรภาพ ถ.อรุณอัมรินทร์-พรานนก ถ.สุขสวัสดิ์-ประชาอุทิศ ถ.รามคำแหง ถ.พระราม 9 ถ.พหลโยธิน ถนนอาจณรงค์ ข้อมูลจากจุดตรวจวัดชั่วคราว
ระดับเสียงในต่างจังหวัด ริมถนน 50.0-83.4 dBA ค่าเฉลี่ย 62.6 dBA พื้นที่ทั่วไป 44.7-73.8 dBA ค่าเฉลี่ย 57.8 dBA ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (dBA) ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (dBA) มาตรฐาน : ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ ระดับเสียงในต่างจังหวัดส่วนใหญ่มีค่าไม่เกินมาตรฐาน
ระดับเสียงที่เกินมาตรฐานในช่วงเดือนเมษายน – มิถุนายน 2552 พื้นที่ ต่ำสุด – สูงสุด (เดซิเบลเอ) จน.วันที่เกินมาตรฐาน/ จน.วันที่ตรวจวัด (ร้อยละ) กรุงเทพมหานคร พื้นที่ริมถนน 1. วงเวียน 22 กรกฎา ถ.สันติภาพ 2. สถานีไฟฟ้าย่อย ถ.อินทรพิทักษ์ 3. สถานีตำรวจนครบางโชคชัย ถ.ลาดพร้าว 4. เคหะชุมชน ถ.ดินแดง 5. พาหุรัด ถ.ตรีเพชร พื้นที่ทั่วไป 1. โรงเรียนบดินเดชา 2. โรงเรียนนนทรีวิทยา 70.0 – 77.6 69.1 – 72.6 70.2 – 72.9 66.7 – 74.7 75.6 – 78.9 51.3 – 70.9 55.8 – 72.5 90/91 (99) 78/86 (91) 91/91 (100) 88/91 (97) 60/60 (100) 1/52 (2) 5/50 (10) ต่างจังหวัด (ริมถนน) 1. สภ.ตำบลหน้าพระลาน จ.สระบุรี 69.3 - 72.9 87/91 (96)
เป็นแหล่งกำเนิดหลักของมลพิษทางเสียงใน กทม. ยานพาหนะ เป็นแหล่งกำเนิดหลักของมลพิษทางเสียงใน กทม.
รถยนต์เครื่องยนต์ เบนซินที่มีมลพิษ ทางเสียง เกินมาตรฐาน ใน กทม. ปี 2548-2551 รถยนต์เครื่องยนต์ ดีเซลที่มีมลพิษ ทางเสียง เกินมาตรฐาน ใน กทม. ปี 2548-2551
การเปรียบเทียบข้อมูลระดับเสียง ระหว่างวันหยุดกับวันทำงาน โดยใช้ข้อมูลเดือนสิงหาคม 2552 เปรียบเทียบระหว่างวันอาทิตย์ กับวันจันทร์
ระดับเสียงบริเวณถนนใน กทม. เดือนสิงหาคม 2552 ถ.อินทรพิทักษ์ ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) สัปดาห์ที่ ถ.ลาดพร้าว ถ.ดินแดง ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) สัปดาห์ที่ สัปดาห์ที่
ผลการเปรียบเทียบข้อมูลระดับเสียง ความแตกต่างของระดับเสียงในวันหยุดและ วันทำงานไม่ชัดเจน สาเหตุเนื่องจากปัจจัยที่ทำให้เกิดระดับเสียงบริเวณริมถนนมีหลายประการ เช่น - ระดับเสียงของยานพาหนะ - จำนวนยานพาหนะ - การใช้ความเร็วของยานพาหนะ
จบการนำเสนอ
ขอขอบคุณทุกท่าน ที่ติดตามชม
กรมควบคุมมลพิษ www.pcd.go.th