การวิเคราะห์กิจการเพื่อการวางแผน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
Advertisements

การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
การออกแบบระบบและประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
Basic Knowledge By Kawinthorn Saicharoen
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
ร่าง- แผนยุทธศาสตร์ HR นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๙.
1 9/25/ ชื่อโครงการ 3 9/25/2016 รายละเอียดผู้ลงทุน ชื่อ : บริษัท คิดแล้วรวย จำกัด ผู้เสนอโครงการ : คุณนวัตกร สุดยอด ( กรรมการบริษัท ) ที่อยู่
Minicase Padaso Plus Coffee.
Professional Leaning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวีชาชีพ
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 20 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
บทที่ 6 “การตลาดสำหรับธุรกิจขนาดย่อม”
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
การประเมินผู้ป่วยและครอบครัว ในการดูแลระยะยาว
การวิเคราะห์งบการเงิน
การวิเคราะห์งบการเงิน
กลยุทธ์สร้างความแข็งแกร่งทางการเงินหลังเกษียณ สำหรับข้าราชการไทย
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
Department of Marketing Bangkok University
การพัฒนางานผู้ป่วยนอก
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
บทที่ 13 วงจรบัญชีแยกประเภททั่วไป
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อผลทางการสื่อสาร และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
เอกสารประกอบคำบรรยาย เรื่อง
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product Development or NPD)
ความรู้เรื่องเครื่องปรับอากาศในอาคาร
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product Development or NPD)
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
Family assessment.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
คิดบวก ชีวิตบวก Positive Thinking, Positive Life
บทที่ 4 กลยุทธ์ในการเลือกตลาด
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
Happy work place index & Happy work life index
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
หลักการตลาด Principles of Marketing
Activity Life cycle.
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
การรายงานผลการดำเนินงาน
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
4. เกณฑ์การให้คะแนนการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์กิจการเพื่อการวางแผน บทที่ 3 การวิเคราะห์กิจการเพื่อการวางแผน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1.การประเมินสภาพโดยทั่วไปของกิจการ 2.ศึกษาสายผลิตภัณฑ์และฐานะการแข่งขันของกิจการ 3.การวิเคราะห์และประเมินคุณภาพของการจัดการทางการเงิน

ในอดีตการวิเคราะห์กิจการมักจะวิเคราะห์เพียงงบดุล โดยวิเคราะห์สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของทุน เมื่อสภาวะเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงมีความซับซ้อมมากขึ้น ส่งผลให้ประเด่นในการพิจารณามีความละเอียดลึกซึ้งมากขึ้น เช่นวิเคราะห์ปัจจัยภายใน(วิเคราะห์ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน การทำกำไร การจ่ายชำระหนี้) วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (สภาพวะเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง กฎหมาย การแข่งขัน)

การประเมินสภาพโดยทั่วไป การประเมินสภาพโดยทั่วไปของกิจการอาศัยการวิเคราะห์ทางการเงิน ประกอบด้วย การวิเคราะห์แนวโน้ม การวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร การวิเคราะห์งบกำไรขาดทุน การวิเคราะห์งบดุล และกรวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ซึ่งในการวิเคราะห์จะทำให้กิจการทราบข้อมูลที่กิจการทำมาในปีนั้น แต่หากไม่มีการเปรียบเทียบแล้วกิจการจะไม่ทราบการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงได้ ในการเปรียบเทียบสามารถเปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานย้อนหลังได้ตั้งแต่ 3ปี 5ปีและไม่ควรเกิด 10ปี และยังสามารถเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพื่อจะได้ทราบว่ากิจการเรากับคู่แข่งใครมีผลการดำเนินงานดีกว่า

การประเมินปัจจัยสำคัญของกิจการ การวิเคราะห์ทางการเงินได้มีการพัฒนาขึ้นมาใช้ ส่วนใหญ่มักจะใช้โดยบริษัทที่ปรึกษาที่ต้องการทราบจุดอ่อนจุดแข็งทั้งหมดของกิจการ เพื่อทำให้ประเมินสภาพที่แท้จริงได้ ในการประเมินกิจการปัจจัยที่สำคัญที่ใช้ในการพิจารณา ดังนี้ 1.สายผลิตภัณฑ์และฐานการแข่งขัน 2.การวิจัยค้นคว้าพัฒนาและวิเคราะห์แผนการดำเนินงาน 3.ฐานะการเงิน การวิเคราะห์ทางการเงิน 4.ประเมินฝ่ายบริหารระดับสูง

สายผลิตภัณฑ์และฐานการแข่งขัน สายผลิตภัณฑ์และฐานะการแข่งขัน ซึ่งจะต้องมีการศึกษาข้อมูลในอดีต ปัจจุบันและอนาคต สามารถอธิบายได้ ดังนี้ ข้อมูลอดีต :จุดอ่อนของกิจการ เช่น รูปร่าง การออกแบบ คุณภาพและอื่น ๆ ข้อมูลปัจจุบัน :ส่วนแบ่งของตลาด กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เป็นต้น ข้อมูลอนาคต :การขยายตลาด แนวโน้มของส่วนแบ่งของตลาด แนวโน้มการแข่งขัน เป็นต้น การพิจารณาข้อมูลด้านสายการผลิตอย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้ง่ายต่อการพิจารณาและวางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาด เพื่อความสำเร็จของกิจการ

วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ที่กิจการดำเนินการอยู่ การวิเคราะห์สายผลิตภัณฑ์อีกรูปแบบหนึ่งก็คือ การสร้างเส้นโค้งวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ซึ่งวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์จะแสดงให้เห็นถึงยอดขายและกำไรของผลิตภัณฑ์ตามช่วงเวลา

ตัวอย่าง ลักษณะของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle : PLC) หมายถึง ยอดขาย และ ผลกำไรของผลิตภัณฑ์หนึ่งๆ ในแต่ละช่วงเวลา 1 1 2 2 3 3 4 4 แนะนำ แนะนำ เติบโต เติบโต โตเต็มที่ โตเต็มที่ ตกต่ำ ตกต่ำ ยอดขาย เงิน ยอดขาย กำไร กำไร เวลา วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle)

การพยากรณ์การขาย มักจัดเตรียมขึ้นภายใต้การอำนวยการผู้บริหารระดับสูงของฝ่ายขายปัจจัยที่นำมาพิจารณาการพยากรณ์ได้แก่ 1. ยอดขายในอดีต 2. การกะประมาณยอดขายของพนักงาน 3. สภาวะทางเศรษฐกิจทั่วๆ ไป 4. สภาวะทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรม 5. การเคลื่อนไหวของเครื่องชี้สภาวะเศรษฐกิจ 6. นโยบายราคาในอนาคต 7. การวิจัยตลาด 8. แผนการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย 9. สภาวะการแข่งขันของธุรกิจ 10. อัตราส่วนการขายในตลาด

การวิจัยค้นคว้า พัฒนาและการวิเคราะห์แผนการดำเนินงาน เมื่อวิเคราะห์สายผลิตภัณฑ์ของธุรกิจและสภาพการแข่งขันแล้ว ก็เข้าสู่กระบวนการการวิจัยและพัฒนางานด้านการตลาด การจัดจำหน่าย การดำเนินการผลิต ที่มีผลทำให้ผลิตภัณฑ์และลักษณะตลาดเปลี่ยนแปลง ประเด็นที่ใช้ในการพิจารณามี ดังนี้ 1.การวิจัยพัฒนาและปัญหาเชิงวิศวกรรม 2.การตลาด 3.การผลิต

การประเมินฝ่ายบริหารระดับสูง ในการประเมินฝ่ายบริหารระดับสูง สามารถประเมินแยกเป็นประเด่นในการพิจารณาได้ ดังนี้ 1.องค์ประกอบของกลุ่มผู้บริหารระดับสูงและประวัติต่าง ๆ 2.ฝ่ายบริหารระดับสูงกับอนาคตของกิจการ 3.อำนาจในการควบคุมของคณะกรรมการอำนวยการที่ทำอยู่ในปัจจุบัน

การประเมินกลยุทธ์ การประเมินกลยุทธ์มีความสำคัญมากในสถานการณ์ปัจจุบัน เพราะจะทำให้ทราบว่ากิจการมีผลการดำเนินงานอย่างไร ซึ่งปัจจุบันนิยมใช้การวิเคราะห์ SWOT ANALISIS เพราะทำให้ทราบถึง จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค์ในการดำเนินงาน กลยุทธ์ที่ใช้ได้อย่างเหมาะสมจะส่งผลให้การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน

การวิเคราะห์และการประเมินคุณภาพของการจัดการทางการเงิน การวิเคราะห์ทางการเงิน เป็นการวิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงการดำเนินงานที่ผ่านมา โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน การวิเคราะห์แนวโน้มของงบการเงิน การจัดทำงบประมาณเงินสด การปรับโครงสร้างทางการเงินของกิจการ การประเมินคุณภาพของการจัดการทางการเงิน คุณภาพของการจัดการทางการเงินขึ้นอยู่กับแผนงานที่ใช้อยู่มีความเหมาะสมกับลักษณะของกิจการหรือไม่ การวิเคราะห์ทางการเงินเป็นการชี้ให้เห็นถึงสาเหตุของปัญหา สาเหตุของความสำเร็จในการดำเนินกิจการ

การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน การวิเคราะห์ความคล่องตัวทางการเงินเป็นการวิเคราะห์สภาพคล่องทางการเงินของกิจการโดยเน้นที่เงินทุนหมุนเวียน อัตราส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ 1.อัตราส่วนวัดสภาพคล่องของกิจการ (Liquidity Ratios) 2.อัตราส่วนที่ใช้วัดประสิทธิภาพของกิจการ (Efficiency Ratio) 3.อัตราส่วนที่ใช้เสริมการวัดสภาพคล่องและประสิทธิภาพของกิจการ

การวิเคราะห์ความอยู่รอดของกิจการในระยะยาว อัตราส่วนที่ใช้ประเมินสถานะของกิจการในระยะยาว มี 2 ประการ คือ อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการชำระหนี้ระยะยาวของกิจการ และอัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการทำกำไรและผลตอบแทนของกิจการ มีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ 1.มูลค่าตามบัญชีของหุ้นทุน 2.โครงสร้างของเงินทุน (หนี้สินระยะยาว+ส่วนของทุน) 3.การคาดคะเนภาวะล้มละลายของกิจการ เป็นอัตราส่วนที่ดีที่สุดที่จะใช้ประเมินภาวะล้มละลายของกิจการประกอบด้วย 5 อัตราส่วน(หน้า 54)

ประเมินภาวะล้มละลายของกิจการ ด้วย 5 อัตราส่วน 1.อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน 2.อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 3.อัตราส่วนการหมุนเวียนของเงินสดต่อหนี้สินรวม 4.อัตราหมุนของสินทรัพย์รวม 5.อัตราผลตอบแทนต่อเงินลงทุน สูตร Z = 1.2X1 + 1.4X2 + 3.3X3 + 0.6X4 + 0.999X5

การวิเคราะห์และการประเมินสถานะปัจจุบัน เพื่อจัดลำดับความสำคัญของงาน การวิเคราะห์และการประเมินสถานะปัจจุบัน เพื่อจัดลำดับความสำคัญของงาน ต้องพิจารณาปัจจัย ดังต่อไปนี้ 1.ความหมายของธุรกิจ 2.ตลาด/ลูกค้าเป้าหมาย 3.คู่แข่งขัน 4.ลูกค้า 5.ผลิตภัณฑ์ใหม่ ลูกค้าใหม่ ตลาดใหม่ 6.การดำเนินงาน 7.การเงิน

การประเมินสถานะปัจจุบันมองจากสภาพแวดล้อม การประเมินสถานะปัจจุบันมองจากสภาพแวดล้อม พิจารณาจากปัจจัย ดังต่อไปนี้ 1.ภาวะเศรษฐกิจ ตลาด 2.แนวโน้มสังคม 3.การแข่งขัน 4.เทคโนโลยี 5.การเมือง กฎหมาย พ.ร.บ. 6.การเงิน 7.อื่น ๆ เช่น อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย

การวิเคราะห์และประเมินภาวะการตลาด การวิเคราะห์และประเมินภาวการณ์ตลาด พิจารณาจากปัจจัย ดังต่อไปนี้ 1.ตลาดผลิตภัณฑ์ : ขอบเขต ลักษณะ สภาพปัจจุบันและอนาคต 2.การแบ่งส่วนการตลาด : การแบ่งกลุ่มลูกค้า พฤติกรรมการสั่งซื้อของลูกค้าแต่ละกลุ่ม 3.ตรวจสอบส่วนแบ่งการตลาด 4.นับจำนวนลูกค้า 5.ลูกค้าเป้าหมายคือใคร 6.นโยบายและกลยุทธ์การปฏิบัติงาน 7.การจูงใจลูกค้า 8.ยอดขายรวม 9.สรุป :จุดแข็ง จุดอ่อน

การวิเคราะห์และประเมินภาวะการผลิตและต้นทุน การวิเคราะห์และประเมินภาวการณ์ผลิตและต้นทุน พิจารณาประเด่นดังต่อไปนี้ 1.การผลิต : ลักษณะการผลิต กระบวนการผลิต อุปกรณ์ เครื่องมือที่เกี่ยวข้อง ความชำนาญ การแข่งขัน เป็นต้น 2.ต้นทุนการผลิต : การจัดหา เก็บรักษาวัตถุดิบ สินค้ามีปัญหา จุดคุ้มทุนของการผลิต