โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
อ. ปิยวรรณ โถปาสอน
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม กลุ่มส่งเสริมยางพาราและปาล์มน้ำมัน สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม ที่มา ราคายางตก ไม่มีเสถียรภาพ เกษตรกร อยากมีรายได้เพิ่มขึ้นเพียงพอต่อการดำรงชีพ โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม ปริมาณการผลิต สูงกว่าปริมาณการใช้ยางธรรมชาติ ลดพื้นที่การปลูก และให้เกษตรกรทดลองทำกิจกรรมอื่นนอกเหนือ จากการปลูกยาง เกษตรกรสามารถพึ่งพาตัวเองได้ ผู้แทนภาคเกษตรกรอยากให้มีแหล่งเงินทุนเพิ่ม งบประมาณรัฐบาลสนับสนุนมีจำกัด

เงื่อนไขแนวคิดการดำเนินการโครงการ สนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ครัวเรือน ละไม่เกิน 1 แสน โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม พอเพียง ยั่งยืน ระยะเวลาการชำระเงินกู้ยาวกว่าปกติ เกิดจากความต้องการ ของเกษตรกร รัฐให้ความรู้ ด้านการผลิต การตลาด การจัดการ และเลือกผลิตสินค้าที่เหมาะสมในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ร่วมวางแผนวิเคราะห์ การผลิต เพื่อลดปัญหาสินค้าล้นตลาดและฝึกให้เกษตรกรรู้จัดวางแผนการผลิต

ผลการดำเนินการโครงการ เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ - จัดทำทางเลือกอาชีพเสริมสำหรับเกษตรกรรายย่อยที่ผู้ปลูกยางพารา - ฝึกให้เกษตรกรมีการประเมินศักยภาพตนเองมีการวางแผน ประเมินการตลาด วิเคราะห์สภาพพื้นที่ วิเคราะห์ความเสี่ยง และพึ่งพาตนเองได้ในระดับหนึ่ง - พัฒนาเจ้าหน้าที่ด้านวิชาการในเรื่องการวางแผน เทคโนโลยีการผลิต การตลาด และบัญชีครัวเรือน - การศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อโครงการฯ และความคิดเกษตรกรชาวสวนยางต่อการเข้าร่วมโครงการฯ - เกิดจุดเรียนรู้การประกอบอาชีพเสริมในสวนยาง 56 จังหวัด 400 จุด จากเกษตรกรชาวสวนยางที่ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพเสริม - เกษตรกรสนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ 196,820 ครัวเรือน 64 จังหวัด (เจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำในการประกอบอาชีพเสริม) - คณะกรรมการบริหารโครงการฯ เห็นชอบแผนการผลิต 192,830 ครัวเรือน - จ่ายสินเชื่อให้กับเกษตรกรแล้ว จำนวน 131,324 ครัวเรือน - เกษตรกรได้รับการอบรมตามสาขาที่เลือก 78,403 ราย

เกษตรกรสมัครเข้าร่วมโครงการ แยกตามกิจกรรม โครงการสนับสนุนสินเชื่อฯ (64 จังหวัด) ร้อยละ หมวดปศุสัตว์ 61.28 หมวดพืชไร่ 10.62 หมวดประมง 9.12 หมวดพืชผัก 5.93 หมวดไม้ผล 5.42 หมวดไม้ยืนต้น 1.18 หมวดพืชสมุนไพร 0.37 หมวดดินและปุ๋ย 0.29 หมวดการแปรรูปอาหาร 0.26 หมวดการแปรรูปที่ไม่ใช่อาหาร 0.21 หมวดไม้ดอก ไม้ประดับ 0.15 หมวดแมลงเศรษฐกิจ 0.14 หมวดอื่นๆ 5.03

ผลการศึกษาความคิดเห็นเกษตรกรชาวสวนยาง ต่อการเข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรชาวสวนยาง จากจังหวัดบึงกาฬ จังหวัดตราด จังหวัดเชียงราย จังหวัดกระบี่ จำนวน 91 ราย ปัจจัยการตัดสินใจสมัครเข้าร่วม โครงการฯ (กลุ่มตัวอย่าง) - ด้านสินเชื่อ เกษตรกร ให้ความสำคัญเรื่องวงเงินกู้ และอัตราดอกเบี้ย 28.68 % - ขนาดวงเงินสินเชื่อ เกษตรกร เห็นว่าวงเงินกู้ รายละไม่เกิน 100,000 บาท พอดีแล้ว 54.94 % - อัตราดอกเบี้ย เกษตรกร เห็นด้วยกับอัตรา ที่โครงการกำหนด (อัตราร้อยละ 5 บาท ต่อปี เกษตรกรจ่าย 2 บาท รัฐสนับสนุน 3 บาท) 63.74 % - ระยะผ่อนชำระ เห็นด้วยกับระยะผ่อนชำระที่โครงการกำหนด ( ไม่เกิน 5 ปี ) 64.84 % - การค้ำประกัน เกษตรกร ส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับวิธีการการ ค้ำประกันของธนาคารในระบบปกติของ ธ.ก.ส. 57.14 % - ระยะเวลาในการรอการอนุมัติ พบว่า เกษตรกร ส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับระยะเวลาที่ต้องรอการอนุมัติ ร้อยละ 57.14 % - ความยุ่งยากในการขอสินเชื่อ พบว่า เกษตรกร เห็นว่าไม่ยุ่งยากมากนัก 53.85%

ผลการศึกษาความคิดเห็นเกษตรกรชาวสวนยาง ต่อการเข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม (ต่อ) วิธีการ

ด้านการคาดหวังของเกษตรกรจากการเข้าร่วมโครงการ ผลการศึกษาความคิดเห็นเกษตรกรชาวสวนยาง ต่อการเข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม (ต่อ) ด้านการคาดหวังของเกษตรกรจากการเข้าร่วมโครงการ

ด้านการคาดหวังของเกษตรกรจากการเข้าร่วมโครงการ (ต่อ) ผลการศึกษาความคิดเห็นเกษตรกรชาวสวนยาง ต่อการเข้าร่วมโครงการสนับสนุนสินเชื่อชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม (ต่อ) ด้านการคาดหวังของเกษตรกรจากการเข้าร่วมโครงการ (ต่อ)

ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มี ต่อโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม กลุ่มตัวอย่าง เกษตรกรชาวสวนยางจากภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคเหนือ จำนวน 510 ราย

ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มี ต่อโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม (ต่อ)

ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มี ต่อโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม (ต่อ)