มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
อ. ปิยวรรณ โถปาสอน
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

มาตรฐานวิชาชีพครู พุทธศักราช 2556 มาตรฐานวิชาชีพครู พุทธศักราช 2556

หมวด 1 มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ หมวด 1 มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ  ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี ทางการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภา รับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปนี้

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพครู (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดังต่อไปนี้ 1) ความเป็นครู 2) ปรัชญาการศึกษา 3) ภาษาและวัฒนธรรม 4) จิตวิทยาสำหรับครู 5) หลักสูตร

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพครู 6) การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน 7) การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 8) นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 9) การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ 10) การประกันคุณภาพการศึกษา 11) คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพครู (ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ผ่านการปฏิบัติการสอน ในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา เป็นเวลาไม่น้อยกว่า หนึ่งปีและผ่านเกณฑ์การประเมิน ปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการคุรุสภากำหนด ดังต่อไปนี้ 1) การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา หรือ เทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมี มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปนี้

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดังต่อไปนี้ 1) การพัฒนาวิชาชีพ 2) ความเป็นผู้นำทางวิชาการ 3) การบริหารสถานศึกษา 4) หลักสูตร การสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดังต่อไปนี้ 5) กิจการและกิจกรรมนักเรียน 6) การประกันคุณภาพการศึกษา 7) คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ (หน้า 68 เล่ม 130 ตอนพิเศษ 130ง ราชกิจจานุเบกษา 4 ตุลาคม 2556)

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา (ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปนี้ 1) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปีหรือ 2) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนและต้องมี ประสบการณ์ในตำแหน่งหัวหน้าหมวด หรือ หัวหน้าสาย หรือหัวหน้างาน หรือตำแหน่งบริหารอื่นๆในสถานศึกษามาแล้ว ไม่น้อยกว่าสอง

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดังต่อไปนี้ 1) การพัฒนาวิชาชีพ 2) ความเป็นผู้นำทางวิชาการ 3) การบริหารการศึกษา 4) การส่งเสริมคุณภาพการศึกษา 5) การประกันคุณภาพการศึกษา 6) คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา (ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปนี้ 1) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าแปดปีหรือ 2) มีประสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา มาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี 3) มีประสบการณ์ในตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา (ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปนี้ 4) มีประสบการณ์ในตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ที่มีประสบการณ์การบริหารไม่ต่ำกว่าหัวหน้ากลุ่ม หรือผู้อำนวยการกลุ่ม หรือเทียบเท่ามาแล้ว ไม่น้อยกว่าห้าปี หรือ 5) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอน และมีประสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือบุคลากร ทางการศึกษาอื่น ตามที่กำหนดกฎกระทรวง หรือ บุคลากรทางการศึกษาอื่นที่มีประสบการณ์การ บริหารไม่ต่ำกว่าหัวหน้ากลุ่ม หรือผู้อำนวยการกลุ่ม หรือเทียบเท่า รวมกันมาแล้วไม่น้อยกว่าแปดปี

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่า ปริญญาโททางการศึกษาหรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิ อื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้และ ประสบการณ์วิชาชีพดังต่อไปนี้ (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดังต่อไปนี้ 1) การพัฒนาวิชาชีพ 2) การนิเทศการศึกษา 3) แผนและกิจกรรมการนิเทศ

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดังต่อไปนี้ 4) การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 5) การวิจัยทางการศึกษา 6) นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 7) การประกันคุณภาพการศึกษา 8) คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ

หมวด 1 มาตรฐานความเป็นครูและประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ (ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปนี้ 1) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี หรือมีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนและมีประสบการณ์ใน ตำแหน่งผู้บริหาร สถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษา รวมกันมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี 2) มีผลงานทางวิชาการทีมีคุณภาพและมีการเผยแพร่

หมวด 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน

หมวด 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ 1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูให้ ก้าวหน้าอยู่เสมอ 2) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียน 3) มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เติบโตเต็มตามศักยภาพ 4) พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้จริงใน ชั้นเรียน 5) พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ 6) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์โดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ ผู้เรียน

หมวด 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ 7) รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ 8) ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน 9) ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ 10) ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ 11) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 12) สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์

หมวด 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ 1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษา ให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ 2) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้น กับการพัฒนาของผู้เรียนบุคลากร และชุมชน 3) มุ่งมั่นพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้เต็ม ศักยภาพ

หมวด 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ 4) พัฒนาแผนงานขององค์การให้มีคุณภาพสูง สามารถปฏิบัติให้เกิดผลได้จริง 5) พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับ 6) ปฏิบัติงานขององค์การโดยเน้นผลถาวร 7) ดำเนินการและรายงานผลการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาได้อย่างเป็นระบบ 8) ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 9) ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์

หมวด 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ 10) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 11) เป็นผู้นำและสร้างผู้นำทางวิชาการในหน่วยงาน ของตนได้ 12) สร้างโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์

หมวด 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ 1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาการนิเทศ การศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพทาง การศึกษาอย่างสม่ำเสมอ 2) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมการนิเทศการศึกษา โดยคำนึงถึงผลที่ จะเกิดแก่ผู้รับการนิเทศ 3) มุ่งมั่นพัฒนาผู้รับการนิเทศให้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม จนเกิดผลต่อการพัฒนาอย่างมีคุณภาพ เต็มศักยภาพ 4) พัฒนาแผนการนิเทศให้มีคุณภาพสูง สามารถ ปฏิบัติให้เกิดผลได้จริง

หมวด 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ 5) พัฒนาและใช้นวัตกรรมการนิเทศการศึกษาจนเกิดผลงานที่มี คุณภาพสูงขึ้นเป็นลำดับ 6) จัดกิจกรรมการนิเทศการศึกษาโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้รับการนิเทศ 7) ดำเนินการและรายงานผลการนิเทศการศึกษาให้มี คุณภาพสูงได้อย่างเป็นระบบ 8) ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 9) ร่วมพัฒนางานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ 10) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 11) เป็นผู้นำและสร้างผู้นำทางวิชาการ 12) สร้างโอกาสในการพัฒนางานได้ทุกสถานการณ์

หมวด 3 มาตรฐานการปฏิบัติตน

หมวด 3 มาตรฐานการปฏิบัติตน ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติตนตามข้อบังคับคุรุสภาว่า ด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพหน้า 71 เล่ม 130 ตอน พิเศษ 130ง ราชกิจจานุเบกษา 4 ตุลาคม 2556

หมวด 3 มาตรฐานการปฏิบัติตน ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา หมวด 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ

หมวด 3 มาตรฐานการปฏิบัติตน ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา หมวด 2 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็นสมาชิกที่ดี ขององค์กรวิชาชีพ 

หมวด 3 มาตรฐานการปฏิบัติตน ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา หมวด 3 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าทีโดยเสมอ ต้องส่งเสริมให้เกิดการ เรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ และ ผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ

หมวด 3 มาตรฐานการปฏิบัติตน ต้องประพฤติปฏิบัติ ตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ  ต้องให้บริการด้วย ความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับ ผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ 

หมวด 3 มาตรฐานการปฏิบัติตน ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา หมวด 4 จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูล ซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ

หมวด 3 มาตรฐานการปฏิบัติตน ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา หมวด 5 จรรยาบรรณต่อสังคม ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการอนุรักษ์ และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

อ้างอิง https://www.slideshare.net/apiruk3689/2556-59751266