การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6
การควบคุมภายในตามนัยของระเบียบฯ กระบวนการปฏิบัติงานที่บุคลากรทุกระดับขององค์การจัดให้มีขึ้นเพื่อความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานขององค์การจะบรรลุวัตถุประสงค์ทั้ง 3 ด้าน
วัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน 1. ประสิทธิผล ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน รวมถึงการดูแลทรัพย์สิน การป้องกันความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล และการทุจริต (O) 2. ความเชื่อถือได้ของข้อมูลรายงาน (F) 3. การปฏิบัติตามระเบียบกฎหมาย นโยบาย สัญญา(C)
ความสำคัญของ การควบคุมภายใน สร้างภูมิคุ้มกันให้แก่หน่วยงาน มาตรการในการตรวจสอบความถูกต้องและเชื่อถือได้ของข้อมูล ส่งผลต่อการดำเนินงานขององค์กร
2. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารต่อการควบคุมภายใน ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับรองลงมาทุกระดับ
หน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง รับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้มีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในระดับที่น่าพอใจอยู่เสมอ ประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน กำหนดให้หน่วยตรวจสอบภายในเป็นส่วนหนึ่งของการควบคุมภายใน
หน้าที่ของผู้บริหาร ระดับรองลงมาทุกระดับ จัดให้มีการควบคุมภายในของส่วนงานที่ตนรับผิดชอบ สอบทานการปฏิบัติงานที่ใช้บังคับในหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการควบคุมภายในให้รัดกุม
สาระสำคัญของระเบียบฯ ส่วนที่ 1 ตัวระเบียบ ระเบียบฯ ข้อ 5 ฝ่ายบริหารเป็นผู้รับผิดชอบนำมาตรฐานการควบคุมภายในท้ายระเบียบนี้ไปใช้เป็นแนวทางจัดวางระบบการควบคุมภายในให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี ระเบียบฯ ข้อ 6 รายงานเกี่ยวกับการควบคุมภายในอย่างน้อยปีละครั้ง
ระเบียบฯ ข้อ 8 บทกำหนดโทษหากเจตนา หลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ ซึ่งอาจต้องรับโทษปรับทางปกครองตามระเบียบฯ วินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ.2544 ส่วนที่ 2 วินัยทางงบประมาณและการคลัง มาตรา 19 เพื่อให้ระบบการควบคุมการตรวจสอบการเงินแผ่นดินเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและมีวินัย ให้มีคณะกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอำนาจหน้าที่พิจารณาและกำหนดโทษปรับทางปกครอง เบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่หรือพนักงานของหน่วยรับตรวจที่ฝ่าฝืนมาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการเงิน ของรัฐ มาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการเงินของรัฐ อย่างน้อยต้องมีสาระ สำคัญดังต่อไปนี้ (1) ... (2) เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเงินตำแหน่งใดหรือเจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ โดยตรงในเรื่องใด ๆ ที่จะต้องเป็นผู้ที่ต้องรับผิดทางวินัยทางงบประมาณและการคลังเมื่อมีการ ฝ่าฝืนข้อกำหนดดังกล่าว จะต้องระบุไว้โดยชัดแจ้ง
ส่วนที่ 2 มาตรฐานการควบคุมภายใน
การกำหนดกิจกรรมการควบคุม วัตถุประสงค์ (O/F/C) สารสนเทศ และการสื่อสาร การติดตามประเมินผล การกำหนดกิจกรรมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง สภาพแวดล้อมของการควบคุม
- ปรัชญาและรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment) หมายถึง ปัจจัยต่างๆซึ่งร่วมกันส่งผลให้มีการควบคุมขึ้นในหน่วยรับตรวจหรือทำให้การควบคุมที่มีอยู่ได้ผลดีขึ้น ในทางตรงกันข้ามก็อาจทำให้การควบคุมย่อหย่อนลงได้ ปัจจัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของการควบคุม - ปรัชญาและรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร - ความซื่อสัตย์และจริยธรรม - ความรู้ ทักษะและความสามารถของบุคลากร - โครงสร้างการจัดองค์กร - การมอบอำนาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ - นโยบายและวิธีบริหารบุคลากร
การสร้างสภาพแวดล้อมการควบคุมที่ดี การควบคุมที่มองเห็นได้ (Hard Controls) กำหนดโครงสร้างองค์กร นโยบาย ระเบียบวิธีปฏิบัติ ฯลฯ การควบคุมที่มองไม่เห็น (Soft Controls) จิตสำนึก ทัศนคติ ค่านิยม วัฒนธรรมองค์กร ความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ ความมีจริยธรรม
2. การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ซึ่งไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด ฝ่ายบริหารต้องประเมินความเสี่ยงทั้งจาก ปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจอย่างเพียงพอและเหมาะสม (ระเบียบฯ ข้อ 15 หน้า 12 )
1.การระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Identification) ขั้นตอนในการประเมิน ความเสี่ยง กำหนด วัตถุประสงค์ระดับ องค์กร/กิจกรรม 1.การระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Identification) 2.การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) 3.การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การวิเคราะห์ความเสี่ยง โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ผลกระทบของความเสี่ยงต่อองค์กร โอกาสจะเกิด ความเสี่ยง ความถี่ โดยเฉลี่ย คะแนน ผลกระทบ มูลค่าความเสียหาย สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย น้อยมาก 1 เดือนต่อครั้งหรือมากกว่า 1 – 6 เดือนต่อครั้งแต่ไม่เกิน 5 ครั้ง 1 ปีต่อครั้ง 2 – 3 ปีต่อครั้ง 5 ปีต่อครั้ง 5 4 3 2 1 > 10 ล้านบาท > 2.5 แสนบาท – 10 ล้านบาท > 50,000 – 2.5 แสนบาท > 10,000 – 50,000 ไม่เกิน 10,000 บาท หมายเหตุ : มูลค่าความเสียหาย และความถี่เป็นเพียงตัวอย่างการนำไปใช้ ควรมีการกำหนดให้เหมาะสมกับขนาดภารกิจและลักษณะการดำเนินงานขององค์กร
การวิเคราะห์ความเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) 5 4 3 2 1 มีความเสี่ยงสูงมาก มีความเสี่ยงสูง มีความเสี่ยงปานกลาง มีความเสี่ยงต่ำ ผลกระทบของความเสี่ยง 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยง การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง การควบคุมความเสี่ยง การยอมรับความเสี่ยง การถ่ายโอนความเสี่ยง
กรมธรรม์ประกันภัย
3. กิจกรรมการควบคุม หมายถึง นโยบายและวิธีการต่าง ๆที่ฝ่ายบริหารกำหนดให้บุคลากรของหน่วยรับตรวจปฏิบัติเพื่อลดหรือควบคุมความเสี่ยง และได้รับการสนองตอบโดยมีการปฏิบัติ ควรแฝงอยู่ในกระบวนการทำงานตามปกติ สามารถลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับยอมรับได้ ต้นทุนคุ้มกับประโยชน์ที่ได้รับ เพียงพอเหมาะสมไม่มากหรือน้อยเกินไป มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะ
ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุม -การอนุมัติ -การสอบทาน -การดูแลป้องกันทรัพย์สิน -การบริหารทรัพยากรบุคคล -การบันทึกรายการและ เหตุการณ์อย่างถูกต้องและทันเวลา -การกระทบยอด -การแบ่งแยกหน้าที่ -การจัดทำเอกสารหลักฐาน
4. สารสนเทศและการสื่อสาร สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารทางการเงิน และข้อมูล ข่าวสารอื่น ๆ เกี่ยวกับการ ดำเนินงานของหน่วยรับตรวจ ไม่ว่าเป็นข้อมูลจากแหล่งภายใน หรือภายนอก การสื่อสาร หมายถึง การส่งสารสนเทศระหว่างบุคลากร ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีสารสนเทศอย่างพอเพียงและสื่อสารให้ฝ่ายบริหารและบุคลากรอื่นๆที่เหมาะสมทั้งภายในและภายนอกหน่วยรับตรวจ ซึ่งจำเป็นต้องใช้สารสนเทศนั้นในรูปแบบที่เหมาะสมและทันเวลา
5. การติดตามประเมินผล หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน และประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่วางไว้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โดย การติดตามผลในระหว่างการปฎิบัติงาน (Ongoing Monitoring) และ การประเมินผลเป็นรายครั้ง (Separate Evaluation) การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment) การประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ (Independent Assessment)
การรายงานตามระเบียบ ฯ ข้อ 6
โดยมีรายละเอียด ดังนี้ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (๑) ทำความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจที่ใช้อยู่มีมาตรฐานตามระเบียบนี้หรือไม่ (๒) รายงานผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในในการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด รวมทั้งข้อมูลสรุปผลการประเมินแต่ละองค์ประกอบของการควบคุมภายในประกอบด้วย (ก) สภาพแวดล้อมของการควบคุม (ข) การประเมินความเสี่ยง ค) กิจกรรมการควบคุม (ง) สารสนเทศและการสื่อสาร (จ) การติดตามประเมินผล (๓) จุดอ่อนของระบบการควบคุมภายใน พร้อมข้อ เสนอแนะและแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน
กำหนดเวลาในการรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 กำหนดเวลาในการรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 รายงานอย่างน้อยปีละครั้ง ทุกปี รายงานครั้งแรกภายใน 240 วัน นับจากวันวางระบบการควบคุมภายในแล้วเสร็จ (ภายในสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2547 ปัจจุบันขยายไปถึงสิ้นเดือนธันวาคม 2547) ครั้งต่อไป รายงานภายใน 90 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ (ภายในสิ้นเดือนธันวาคมของทุกปี) หรือปีปฏิทิน (ภายในสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี) แล้วแต่กรณี
รูปแบบในการรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 เอกสารคำแนะนำ : การจัดทำรายงานการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 เล่มที่ 2 (รายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6) - ระดับหน่วยรับตรวจ แบบ ปอ. - ระดับส่วนงานหรือหน่วยงานย่อย แบบ ปย. - เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส แบบ ปย.1-ร - แบบฟอร์มประกอบอื่นๆ เช่น แบบ ปม. แบบ ปส. ฝ่ายบริหาร หน่วยตรวจสอบภายใน
กลุ่มของผู้จัดทำรายงาน ระดับส่วนงานย่อย ผู้ตรวจสอบภายใน เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส ระดับองค์กร
รายงานระดับส่วนงานย่อย แบบ ปย. 1 รายงานความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน แบบ ปย. 2 สรุปผลการประเมินองค์ประกอบ 5 ข้อ (สรุป ปย.2-1) แบบ ปย. 2-1 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ 5 ข้อ แบบ ปย. 3 แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน แบบติดตาม ปย. 3 แบบรายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุง (ติดตาม ปย. 3) แบบ ปม. แบบประเมินการควบคุมภายใน
รายงานระดับองค์กร แบบ ปอ. 1 รายงานความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน แบบ ปอ. 1 รายงานความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน แบบ ปอ. 2 สรุปผลการประเมินองค์ประกอบ 5 ข้อ (สรุป ปอ.2-1) แบบ ปอ. 2-1 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ 5 ข้อ แบบ ปอ. 3 แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน แบบติดตาม ปอ. 3 แบบรายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุง (ติดตาม ปอ. 3)
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 ร่างรายงานของหน่วยงาน การติดตามผล ระหว่างการ ปฏิบัติงาน ร่างรายงาน ของ หน่วยงาน รายงาน ของ หน่วยงานย่อย ฝ่าย บริหาร หัวหน้า หน่วยงาน การประเมินผล รายครั้ง CSA การสอบทาน ร่างรายงานของหน่วยงาน การประเมิน อย่างเป็นอิสระ ฝ่าย ตรวจสอบ ภายใน รายงานของ ฝ่ายตรวจสอบ ภายใน การสอบทานการปฏิบัติ ตามการควบคุมภายใน
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6: ฝ่ายบริหาร การประเมินรายครั้ง CSA การติดตามผลการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงฯ 1 การประเมินตามแบบสอบถาม การควบคุมภายใน การประเมินตามแบบประเมิน องค์ประกอบของมาตรฐาน การควบคุมภายใน 3 2 การประเมินผล ตามแบบประเมินการควบคุมภายใน(ปม.) 4 รายงานของส่วนงานย่อย
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6: ฝ่ายบริหาร (ต่อ) รายงานของส่วนงานย่อย (ปย.1,ปย.2,2-1,ปย.3, แบบติดตาม-ปย.3,ปม.) รายงานของส่วนงานย่อย (ปย.1,ปย.2,2-1,ปย.3, แบบติดตาม-ปย.3,ปม.) รายงานของส่วนงานย่อย (ปย.1,ปย.2,2-1,ปย.3, แบบติดตาม-ปย.3,ปม.) ร่างรายงานของหน่วยงาน (ปอ.2,2-1,ปอ.3,แบบติดตาม-ปอ.3) รายงานของ ฝ่ายตรวจสอบภายใน รายงานของเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส(ปย.1-ร) และ ร่างรายงานของหน่วยงาน (ปอ.2,2-1,ปอ.3,แบบติดตาม-ปอ.3) หัวหน้าหน่วยงาน
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 รายงานของเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส(ปย.1-ร) และ ร่างรายงานของหน่วยงาน (ปอ.2,2-1,ปอ.3,แบบติดตาม-ปอ.3) รายงานของ ฝ่ายตรวจสอบภายใน (ปส.) รายงานของหน่วยงาน (ปอ.1,ปอ.2,ปอ.3,แบบติดตาม-ปอ.3,ปส. คณะกรรมการ ตรวจสอบ สำนักงานการตรวจ เงินแผ่นดิน ปลัดกระทรวง
ขั้นตอนการจัดทำ รายงานการควบคุม ภายใน ตามระเบียบฯ ข้อ 6
รายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6: ฝ่ายบริหาร การประเมินรายครั้ง CSA การติดตามผลการปฏิบัติงาน ตามแผนการปรับปรุงฯ 1 การประเมินตามแบบสอบถาม การควบคุมภายใน การประเมินตามแบบประเมิน องค์ประกอบของมาตรฐาน การควบคุมภายใน 3 2 การประเมินผล ตามแบบประเมินการควบคุมภายใน(ปม.) 4 รายงานของส่วนงานย่อย
1. การติดตามผลการปฏิบัติตามแผนฯระดับส่วนงานย่อย แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน แบบ ปย. 3 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนฯ แบบติดตาม - ปย.3 มีการปรับปรุงตามแผนฯที่กำหนด สรุปจุดอ่อน/ความเสี่ยงที่มีนัยสำคัญ มีสถานะการดำเนินการเป็นอย่างไร แบบประเมินการควบคุมภายใน แบบ ปม. สรุปวิธีการติดตาม ผลการประเมิน และข้อคิดเห็น
2. ขั้นตอนและวิธีการประเมินแบบสอบถามการควบคุมภายใน ศึกษาและทำความเข้าใจกับ แบบสอบถามในภาคผนวก ง. นำคู่มือการปฏิบัติงาน/ระเบียบวิธีปฏิบัติ/ หลักเกณฑ์มาตรฐาน/นโยบาย/ แผนผังองค์กรมาประเมินว่ายังเพียงพอ และเหมาะสมอยู่หรือไม่ ไม่มี มี สอบถามตามแบบสอบถามที่มีอยู่ วิเคราะห์เอกสารหลักฐานเพิ่มเติม/สังเกตการณ์ การปฏิบัติงานจริง/สอบถาม/สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง A
2. ขั้นตอนและวิธีการประเมินแบบสอบถามการควบคุมภายใน A สรุปคำตอบและอธิบายวิธีปฏิบัติ สรุปจุดอ่อน/ความเสี่ยงที่มีนัยสำคัญ แบบประเมินการควบคุมภายใน แบบ ปม.
3. แนวทางการประเมินตามองค์ประกอบฯ แบบประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานฯ (ภาคผนวก ค.) รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ ของมาตรฐานฯ (แบบ ปย.2-1) (หน้า ข-32) สรุปผลการประเมินองค์ประกอบ ของมาตรฐานฯ (แบบ ปย.2) (หน้า ข-31)
4. การประเมินผลตาม แบบประเมินการควบคุมภายใน ศึกษาและ ทำความเข้าใจกับ ผลการประเมินการควบคุมภายใน ที่จัดทำไว้ตาม ระเบียบฯ ข้อ5และข้อ6 2 มอบหมายผู้ปฏิบัติงาน ร่วมกันรับผิดชอบ ในการประเมิน 1
ขั้นตอนและวิธีการประเมิน 3 แบบติดตาม ปย.3 แบบ ปย.2-1 แบบ ปย.2 แบบสอบถาม การควบคุมภายใน ประมวลจุดอ่อนที่พบจากการประเมิน กระดาษทำการ สรุปจุดอ่อน A
ขั้นตอนและวิธีการประเมิน A 4 6 คัดเลือกจุดอ่อนที่พบ และพิจารณาความมีนัยสำคัญ สรุปจุดอ่อนและสาเหตุ และการปรับปรุง แบบประเมินการควบคุม (แบบ ปม.) แผนการปรับปรุงการ ควบคุมภายใน (แบบ ปย.3) 5 ประเมินผลการควบคุมตามแบบ ปม.
สรุปผลการประเมินระดับส่วนงานย่อย รายงานผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงฯ (แบบติดตาม ปย.3) สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานฯ (แบบ ปย.2) แผนการปรับปรุง การควบคุมภายใน (แบบ ปย.3) 7 สรุปผลการประเมิน การควบคุมภายใน หนังสือรับรองการควบคุมภายในของผู้บริหารระดับส่วนงานย่อย (แบบ ปย.1)
กรณีตัวอย่างการประเมินการควบคุมภายใน กำหนดกิจกรรมที่จะประเมิน วัตถุประสงค์ของกิจกรรมการจัดหาพัสดุ เพื่อให้กระบวนการจัดหาพัสดุเป็นไปอย่างโปร่งใส ประหยัด และ ถูกต้องตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุฯ
ปัจจัยเสี่ยง และการควบคุม *เจ้าหน้าที่คนเดียวทำหน้าที่รับ และเปิดซองประกวดราคา *การพิจารณาคุณสมบัติของผู้ขายไม่เป็นไปตามข้อกำหนด การควบคุม เจ้าหน้าที่พัสดุเป็นผู้ดำเนินการ และผ่านการอนุมัติโดยหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุอีกชั้นหนึ่ง แจ้งคุณสมบัติของผู้ขายไว้ในประกาศประกวดราคา
แผนปรับปรุงการควบคุมภายใน แต่งตั้งคณะกรรมการเป็นผู้ดำเนินการรับและ เปิดซอง โดยได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าหน่วยงาน สอบทานโดยกรรมการฯ ระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการฯ
การจัดทำรายงานการควบคุมภายในในภาพรวม ผู้รับผิดชอบจัดทำรายงานการควบคุมภายในภาพรวมรับรายงานจากส่วนงานย่อยมาประมวลในภาพรวม เมื่อได้รายงานในภาพรวม (แบบ ปอ.) แล้ว นำเสนอร่างรายงานต่อเจ้าหน้าที่ระดับอาวุโส และผู้ตรวจสอบภายใน เมื่อทั้ง 2 ฝ่ายสรุปความเห็นได้เป็น รายงาน ปย.1ร. และ ปส. แล้ว ผู้รับผิดชอบฯ รวบรวมรายงานระดับองค์กรทั้งหมด และจัดทำร่างรายงาน ปอ.1 (สอดคล้องกับ แบบ ปย.1ร. และ ปส.) เสนอผู้บริหารสูงสุดลงนาม และจัดส่งตามระเบียบฯ