ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
อ. ปิยวรรณ โถปาสอน
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ โดย สุภาพ ภูแช่มโชติ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ๒๑ เมษายน ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมแก้วมุกดา

๑. ค่าใช้จ่ายภายใต้ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ.๒๕๔๙ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

๒.ค่าใช้จ่ายภายใต้ การจ่ายเงินค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและเวชปฏิบัติครอบครัว รอ ๐๐๓๒.๐๐๑.๕/ว ๑๐๗๑ ลว.๒๔ มิ.ย.๕๖

- “การฝึกอบรม”: การอบรม ประชุม / สัมมนาทางวิชาการ / เชิงปฏิบัติการ บรรยายพิเศษ ฝึกศึกษา ดูงาน ฝึกงาน ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาบุคคล หรือ เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไม่ มีการรับปริญญา / ประกาศนียบัตรวิชาชีพ - ไม่ใช่หลักสูตรการเรียนการสอน การศึกษาต่อ ไม่ใช่การประชุมหารือ ประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน 3. 4

“การดูงาน” : การเพิ่มพูนความรู้ / ประสบการณ์ด้วยการสังเกตการณ์ ซึ่งกำหนดไว้ในโครงการ/ หลักสูตร หรือในแผนการจัดการประชุมระหว่างประเทศ ให้มีการดูงาน ก่อน ระหว่าง หรือหลัง รวมถึง โครงการ / หลักสูตรที่มีเฉพาะการดูงานภายในประเทศที่หน่วยงานของรัฐจัดขึ้น 4. 5

การฝึกอบรมแบ่งเป็น 3 ประเภท การฝึกอบรม ประเภท ก ผู้เข้าอบรมเกินกึ่ง หนึ่ง เป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการ ตำแหน่งประเภท ทั่วไป ระดับทักษะพิเศษ วิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ, ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ ระดับสูง บริหาร ระดับต้น, สูง 5. 6

การฝึกอบรมแบ่งเป็น 3 ประเภท การฝึกอบรม ประเภท ข ผู้เข้าอบรมเกินกึ่งหนึ่ง เป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการตำแหน่งประเภท ทั่วไป ระดับปฏิบัติงาน, ชำนาญงาน, อาวุโส วิชาการ ระดับปฏิบัติการ, ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ ระดับต้น บุคคลภายนอก : ผู้เข้าอบรมเกินกึ่งหนึ่งมิใช่บุคลากรของรัฐ 5. 7

การฝึกอบรมที่ส่วนราชการเป็นผู้จัด หรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น โครงการ / หลักสูตร การฝึกอบรมที่ส่วนราชการเป็นผู้จัด หรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น ต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ (ข้อ 8) 6. 8

การจัดฝึกอบรม และการเข้ารับการฝึกอบรมให้ ส่วนราชการพิจารณาอนุมัติเฉพาะผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์ต่อส่วนราชการนั้น ตามจำนวนที่เห็นสมควรและให้พิจารณาในด้านการเงินก่อนด้วย 6. 9

ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม เช่น 1. ค่าใช้และตกแต่งสถานที่ 2. ค่าใช้จ่ายพิธีเปิด – ปิดการฝึกอบรม 3. ค่าวัสดุ เครื่องเขียน อุปกรณ์ 4. ค่าประกาศนียบัตร 5. ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ 6. ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้ารับการอบรม 7, ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร 8. ค่าเช่าอุปกรณ์ต่างๆ ในการฝึกอบรม 9. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าใช้จ่ายตามข้อ 1 – 9 ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสมและประหยัด 9. 10

ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม เช่น 10.ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำคัญผู้เข้ารับการอบรม ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราใบละ 300 บาท 11. ค่าของสมนาคุณในการดูงาน ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง แห่งละไม่เกิน 1,500 บาท 9. 11

ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม เช่น 12. ค่าสมนาคุณวิทยากร 13. ค่าอาหาร 14. ค่าเช่าที่พัก 15. ค่ายานพาหนะ ยกเว้น ค่าสมนาคุณวิทยากร ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก และค่าพาหนะ (ข้อ12-15) เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตราตามระเบียบฯ 9. 12

ค่าใช้จ่ายที่ไม่ต้องดำเนินการตามระเบียบพัสดุ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม - ค่าอาหาร - ค่าเช่าที่พัก - ค่าสมนาคุณวิทยากร - ค่าพาหนะ 9. 13

การฝึกอบรมบุคคลภายนอกจัดได้เฉพาะในประเทศเท่านั้น (ข้อ 9) การจัดฝึกอบรม การเดินทางไปจัด (เจ้าหน้าที่) และการเข้ารับการฝึกอบรม (ผู้เข้าอบรม) ต้องได้รับอนุมัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุมัติเดินทางไปราชการและ การจัดการประชุมของทางราชการ 7. 14

บุคคลที่จะเบิกค่าใช้จ่ายได้ (ข้อ 10) 1. ประธานในพิธีเปิด-ปิด แขกผู้มีเกียรติและผู้ติดตาม 2. เจ้าหน้าที่ 3. วิทยากร 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5. ผู้สังเกตการณ์ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นให้ส่วนราชการผู้จัดเป็นผู้เบิกจ่าย หากจะเบิกจ่ายจากส่วนราชการต้นสังกัด ให้ทำได้ เมื่อผู้จัดร้องขอและต้นสังกัดตกลงยินยอม 8. 15

ค่าสมนาคุณวิทยากร หลักเกณฑ์การจ่าย บรรยาย ไม่เกิน 1 คน บรรยาย ไม่เกิน 1 คน อภิปราย/สัมมนาเป็นคณะ ไม่เกิน 5 คน แบ่งกลุ่ม - ฝึกภาคปฏิบัติ - อภิปราย - ทำกิจกรรม วิทยากรเกินที่กำหนดเฉลี่ยจ่าย ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน 10. 16

การนับเวลาเพื่อจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร นับตามเวลาที่กำหนดในตารางการฝึกอบรม ไม่ต้องหักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่างและ เครื่องดื่ม แต่ละชั่วโมงการฝึกอบรมต้องไม่น้อยกว่า 50 นาที ชั่วโมงการอบรมไม่ถึง 50 นาที แต่ไม่น้อยกว่า 25 นาที ให้เบิกค่าสมนาคุณวิทยากรได้กึ่งหนึ่ง ให้ใช้แบบการจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร ตามแบบใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากร 11. 17

อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร (ข้อ14) ประเภทวิทยากร อัตรา (บาท : ชั่วโมง) ประเภท ข. บุคคลภายนอก ประเภท ก. 1. วิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐ 2. วิทยากรที่มิใช่บุคลากรของรัฐ ไม่เกิน 600 ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 800 ไม่เกิน 1,600 12. 18

การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรให้ใช้ใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากรตามระเบียบนี้ กรณีจำเป็นต้องใช้วิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์เป็นพิเศษ จะจ่ายสูงกว่าอัตราที่กำหนด อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ วิทยากรสังกัดส่วนราชการเดียวกับผู้จัด ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการผู้จัดที่จะจ่ายได้ แต่ไม่เกินอัตราที่กำหนด การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรให้ใช้ใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากรตามระเบียบนี้ 13. 19

ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน ค่าอาหาร(ข้อ14) ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน (บาท : วัน : คน) ระดับการฝึกอบรม สถานที่ราชการ ฯ ต่างประเทศ ในประเทศ ครบมื้อ ไม่ครบมื้อ ประเภท ข. บุคคลภายนอก ไม่เกิน 500 ไม่เกิน 300 ไม่เกิน 2,500 ประเภท ก. ไม่เกิน 700 14. 21

ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน (บาท : วัน : คน) ค่าอาหาร (กค ว ๕ ลว.๑๔ ม.ค.๕๖ เรื่อง มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับค่าจ้างขั้นต่ำปี ๒๕๕๖) ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน (บาท : วัน : คน) ระดับการฝึกอบรม สถานที่ราชการ ฯ ต่างประ เทศ ในประเทศ ครบมื้อ ไม่ครบมื้อ ประเภท ข. บุคคลภายนอก ไม่เกิน 600 ไม่เกิน 400 ไม่เกิน 2,500 ประเภท ก. ไม่เกิน 850 14. 22

ค่าอาหาร (ต่อ)(บาท : วัน : คน) ระดับการฝึกอบรม สถานที่เอกชน ต่างประเทศ ในประเทศ ครบมื้อ ไม่ครบมื้อ ประเภท ข. บุคคลภายนอก ไม่เกิน 800 ไม่เกิน 600 ไม่เกิน 2,500 ประเภท ก. ไม่เกิน1,000 ไม่เกิน 700 15. 23

ค่าอาหาร (ต่อ)(บาท : วัน : คน) (กค ว ๕ ลว.๑๔ ม.ค.๕๖ เรื่อง มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับค่าจ้างขั้นต่ำปี ๒๕๕๖) (ต่อ)(บาท : วัน : คน) ระดับการฝึกอบรม สถานที่เอกชน ต่างประเทศ ในประเทศ ครบมื้อ ไม่ครบมื้อ ประเภท ข. บุคคลภายนอก ไม่เกิน 950 ไม่เกิน 700 ไม่เกิน 2,500 ประเภท ก. ไม่เกิน1,200 ไม่เกิน 850 15. 24

อัตราค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรมในประเทศ (บาท : วัน : คน) บัญชีหมายเลข 2 ระดับการฝึกอบรม ค่าเช่าห้องพักคนเดียว ค่าเช่าห้องพักคู่ ประเภท ข. บุคคลภายนอก ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 750 ประเภท ก. ระดับสูง ไม่เกิน 2,000 ไม่เกิน 1,100 ประธาน แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม และวิทยากร จัดให้พักและค่าเช่าที่พัก ตามความเหมาะสมได้ 17. 25

ค่าเช่าห้องพักคนเดียว อัตราค่าเช่าที่พัก (กค ว ๕ ลว.๑๔ ม.ค.๕๖ เรื่อง มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับค่าจ้างขั้นต่ำ ปี ๒๕๕๖)(บาท : วัน : คน) ระดับการฝึกอบรม ค่าเช่าห้องพักคนเดียว ค่าเช่าห้องพักคู่ ประเภท ข. บุคคลภายนอก ไม่เกิน 1,450 ไม่เกิน 900 ประเภท ก. ระดับสูง ไม่เกิน 2,400 ไม่เกิน 1,300 ประธาน แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม และวิทยากร จัดให้พักและค่าเช่าที่พัก ตามความเหมาะสมได้ 17. 26

กรณีการฝึกอบรม มีการจัดอาหาร การคำนวณเบี้ยเลี้ยง กรณีการฝึกอบรม มีการจัดอาหาร ให้นับเวลาตั้งแต่ออกจากที่อยู่ / ที่ทำงาน จนกลับถึงที่อยู่ / ที่ทำงาน 24 ชั่วโมงคิดเป็น 1 วัน ถ้าไม่ถึงหรือเกินกว่า 24 ชั่วโมง และส่วนที่ไม่ถึงหรือเกิน 24 ชั่วโมงนั้น มากกว่า 12 ชั่วโมง คิดเป็น 1 วัน ให้หักค่าเบี้ยเลี้ยงที่คำนวณได้มื้อละ 1 ใน 3 ของอัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทางเหมาจ่าย 21. 27

ให้จ่ายเงินให้แก่ผู้เข้าฝึกอบรมที่มิใช่บุคลากรของรัฐ ดังนี้ กรณีจัดฝึกอบรมบุคคลภายนอก และ ส่วนราชการ ไม่จัดอาหาร/ที่พัก/ยานพาหนะ ทั้งหมดหรือบางส่วน ให้จ่ายเงินให้แก่ผู้เข้าฝึกอบรมที่มิใช่บุคลากรของรัฐ ดังนี้ * ค่าเบี้ยเลี้ยง - ไม่จัดอาหารทั้ง 3 มื้อ จ่ายไม่เกิน 240 บาท /วัน/ คน - จัดอาหารให้ 2 มื้อ จ่ายไม่เกิน 80 บาท / วัน / คน 22. 28

ภายนอก เป็นหลักฐานการจ่าย กรณีจัดฝึกอบรมบุคคลภายนอก และ ส่วนราชการ ไม่จัดอาหาร/ที่พัก/ยานพาหนะ ทั้งหมดหรือบางส่วน - จัดอาหารให้ 1 มื้อจ่ายไม่เกิน 160 บาท / วัน / คน * ค่าเช่าที่พัก เหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท / วัน /คน * ค่าพาหนะให้เบิกจ่ายตามสิทธิของข้าราชการตำแหน่ง ประเภททั่วไประดับปฏิบัติการ และให้ใช้แบบใบสำคัญรับเงิน ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมบุคคล ภายนอก เป็นหลักฐานการจ่าย 22. 29

กรณีจ้างจัดฝึกอบรม หลักเกณฑ์ / อัตรา ตามที่ระเบียบกำหนด วิธีการจัดจ้าง ตามระเบียบพัสดุ ใช้ใบเสร็จรับเงินผู้รับจ้าง เป็นหลักฐานการ เบิกจ่าย 27. 30

กรณีนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ ในระเบียบนี้ หรือไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ โดยคำนึงถึงความจำเป็น เหมาะสม และประหยัด 31. 31

ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน จัดงานตามแผนงาน/โครงการ ตามภารกิจปกติหรือตามนโยบายของทางราชการ เช่น วันคล้ายวันสถาปนาส่วนราชการ งานนิทรรศการ แถลงข่าว ประกวดหรือแข่งขันฯ หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาอนุมัติให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นเหมาะสม ประหยัด 32. 32

กรณีจ้างจัดงาน อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ วิธีการจัดจ้างทำตามระเบียบพัสดุ ใช้ใบเสร็จรับเงินของผู้รับจ้างเป็นหลักฐานการเบิกจ่าย 33. 33

- รวบรวมหลักฐานประกอบการเบิกจ่ายเงิน หลักฐานการเบิกจ่าย ขั้นตอนการเบิกจ่าย ขั้นตอนที่ 1 หลักฐานประกอบ - รวบรวมหลักฐานประกอบการเบิกจ่ายเงิน - ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร - ตรวจสอบการลงนามรับรองสำเนาถูกต้องของเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงิน ( ได้ตรวจสอบหลักฐานการเบิกจ่ายถูกต้อง แล้ว )

- จัดทำบันทึกขออนุมัติเบิกจ่ายเงิน หลักฐานการเบิกจ่าย ขั้นตอนการเบิกจ่าย ขั้นตอนที่ 2 ขออนุมัติ - จัดทำบันทึกขออนุมัติเบิกจ่ายเงิน - แนบเอกสารหลักฐานซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบรับรองความถูกต้องแล้ว

หลักฐานการเบิกจ่าย - ผู้มีอำนาจอนุมัติจ่ายเงินบำรุง ขั้นตอนการเบิกจ่าย ขั้นตอนที่ 3 - ผู้มีอำนาจอนุมัติจ่ายเงินบำรุง ตามคำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ที่ 2692 / 2553 ลงวันที่ 22 ตุลาคม 2553

การอนุมัติจ่ายเงินบำรุง (๑) ผอ.รพ.สต. หรือผู้ปฏิบัติ หน้าที่ ผอ.รพ.สต. ครั้งหนึ่ง ไม่เกิน ๕ หมื่นบาท (๒) สาธารณสุขอำเภอ ครั้งหนึ่งไม่เกิน ๑ แสนบาท (๓) ผอ.วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร/ ผอ.ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการสาธารณ-สุขมูลฐานภาค/ผอ. โรงพยาบาลสาขา ผอ.โรงพยาบาลชุมชน ครั้งหนึ่งไม่เกิน ๒ ล้านบาท

การอนุมัติจ่ายเงินบำรุง (๔) ผอ.โรงพยาบาลศูนย์ หรือ ผอ. โรงพยาบาลทั่วไป ครั้งหนึ่งไม่เกิน ๕ ล้าน บาท (๕) นพ.สสจ. ครั้งหนึ่งไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท (๖) ผู้ว่าราชการจังหวัด ครั้งหนึ่งเกินกว่า ๑๐ ล้านบาท แต่ไม่เกิน ๒๐ ล้านบาท

- เขียนเช็คสั่งจ่าย หลักฐานการเบิกจ่าย ขั้นตอนการเบิกจ่าย ขั้นตอนที่ 4 - สั่งจ่ายเช็คให้กับผู้มีสิทธิ์รับเงิน หรือผู้มีสิทธิ์ กรณีต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้หักยอดเงินภาษีออกก่อนจากยอดที่หักภาษีมูลค่าเพิ่มออกแล้ว - กรณีในกรณีสั่งจ่ายเงินเพื่อขอรับ เงินสดมาจ่ายให้ออกเช็คสั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงิน

- จ่ายเงินให้กับผู้มีสิทธิ์ หลักฐานการเบิกจ่าย ขั้นตอนการเบิกจ่าย ขั้นตอนที่ 5 - จ่ายเงินให้กับผู้มีสิทธิ์ - ผู้รับเงินออกใบเสร็จรับเงิน/ใบสำคัญรับเงิน - ผู้รับเงินลงลายมือชื่อรับเงินในทะเบียนจ่ายเช็ค / ต้นขั้วเช็ค พร้อมลง วันที่ เดือน ปี

- บันทึกบัญชีการจ่ายเงิน หลักฐานการเบิกจ่าย ขั้นตอนการเบิกจ่าย ขั้นตอนที่ 6 - บันทึกบัญชีการจ่ายเงิน - รวบรวมเอกสารทั้งหมดเป็นหลักฐานประกอบการบันทึก รายการจ่ายเงินไว้ในบัญชีเงินสดหรือบัญชีเงินฝากธนาคารแล้วแต่กรณีในวันที่จ่ายเงินนั้น - ผู้ตรวจสอบ ตรวจสอบรายการจ่ายเงินที่บันทึกไว้ในบัญชี เงินสดหรือบัญชีเงินฝากธนาคารกับหลักฐานการจ่ายในวันนั้น

- เก็บหลักฐานใส่แฟ้มเก็บไว้ในที่ปลอดภัย หลักฐานการเบิกจ่าย ขั้นตอนการเบิกจ่าย ขั้นตอนที่ 6 - เก็บหลักฐานใส่แฟ้มเก็บไว้ในที่ปลอดภัย รอสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบ และ หากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบแล้ว ให้เก็บรักษา เหมือนกับเอกสารปกติ

ข้อที่ตรวจพบ ด้านการเงิน การรับเงิน-นำเงินฝาก การจ่ายเงิน การยืมเงิน เงินขาดบัญชี

ขอฝากท่าน ผอ. ผู้นำปัจจุบันมีสามแบบ หนึ่งนำแบบเสรีนิยมสม ปล่อยให้ลูกน้องทำตามใจตน โดยไม่สนปล่อยปะละเลยไป แบบที่สองมีประชาธิปไตยนำ ทุกคนทำทุกคนร่วมตัดสินใจ ดำเนินงานถ้อยทีถ้อยอาศัย และมีใจเสมอภาคตลอดมา ผู้นำแบบเผด็จการคือแบบสาม มุ่งทำตามใจตนเป็นส่วนใหญ่ ไม่เห็นหัวออกคำสั่งไม่เห็นใจ เชื่อมั่นในตนเองว่าดีพอ เป็นผู้นำยึดคุณธรรมนำชีวิต  กัลยาณมิตรก็ใส่ใจไม่ร้องขอ อิทธิบาทพรหมวิหารสานสร้างพอ เสริมเติมต่อแต่งเติมเพิ่มทุกวัน เป็นผู้นำอย่าอวดตนหวังผลเลิศ เพราะไม่เกิดผลดีที่สร้างสรรค์ หันมาสร้างขวัญส่วนรวมร่วมใจกัน จะช่วยสรรค์สัมพันธ์อันดีงาม อย่าช่างติช่างขู่กูนี้เก่ง  อย่าเพ่งเล็งเพราะเกลียดและเหยียดหยาม ต้องเชิดชูให้เกียรติแต่พองาม ให้รู้ถามห่วงใยด้วยใจจริง.........

สวัสดี