ครูสมนึก แสงศรีจันทร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
Advertisements

การใช้คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
สอบปฎิบัติ POWERPOINT 2003
รายงานกลุ่มและ การนำเสนอหน้าห้อง
การใช้ MS PowerPOint 2003 การสร้างงานนำเสนอใหม่
การใช้ MS PowerPoint 2003 การสร้างงานนำเสนอใหม่
Powerpoint Templates Page 1 Powerpoint Templates Selection Structure โครงสร้างการทำงานแบบทางเลือก.
การใช้ MS PowerPoint 2003 การสร้างงานนำเสนอใหม่ การเลือกเค้าโครงภาพนิ่ง การออกแบบภาพนิ่ง การออกแบบโครงร่างสี การออกแบบโครงร่างเคลื่อนไหว การออกแบบโครงร่างเคลื่อนไหวแบบ.
การใช้ Ms PowerPoint การสร้างงานนำเสนอใหม่ การสร้างเค้าโครงภาพนิ่ง การออกแบบภาพนิ่ง การออกแบบภาพนิ่งโครงร่างสี การออกแบบภาพนิ่งโครงร่างเคลื่อนไหว การเคลื่อนไหวที่กำหนดเอง.
MICROSOFT WORD MicrosoftExcel MICROSOFTPOWERPOINT.
CD ข้อมูล แผ่น ชื่อ File
Lab 05 : Microsoft PowerPoint 2013 Part 1 ทพ 491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
การใช้ โปรแกรม PowerPoint. เปิดโปรแกรม Power Point คลิกที่ปุ่ม Start > เลือก Programs > Microsoft Office > Microsoft Office Power Point.
Microsoft® Office SharePoint® Server 2007 การฝึกอบรม
Microsoft Office PowerPoint 2007
Google Documents Chaowalit Budchang
PowerPoint Template กระดานดำ ออกแบบโดย Personal Information Management
1-2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 1.
บทที่ 5 การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์สำนักงาน 2.
ทำให้การประชุม มีความสำคัญ
Information and Communication Technology Lab3 New
Project based Learning
Tableau Installation.
โครงการอบรม e-commerce สำหรับประชาชน
กำเนิดภาษา ประโยชน์ของภาษา อิทธิพลของภาษา
R & R Studio Program Installation.
Research of Performing Arts
ชั่วโมงที่ 6–7 พันธะไอออนิก และพันธะโคเวเลนต์
Facebook Personal Information Management walailak university Login
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ชั่วโมงที่ 39 กรดนิวคลิอิก
ยินดีต้อนรับสู่ PowerPoint โฉมใหม่
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษา/ การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์
โครงงานนิทานภาพเคลื่อนไหว ด้วยโปรแกรม Paint และ PowerPoint
ใน PowerPoint 7 วิธีในการทำงานร่วมกัน แก้ไขกับผู้อื่น
หากต้องการเริ่มต้นภาพนิ่ง บนเมนู การนำเสนอภาพนิ่ง คลิก ชมการนำเสนอ
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts
การนำเสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา (oral presentation)
การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
ระบบสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
“Khemie ... Easy Easy and Child Child.”
สำหรับผู้ตรวจสอบเอกสาร ค่าใช้จ่าย
โครงการเสวนาระบบบัญชีสามมิติและงานบัญชี
Wood Template ธีมพาวเวอร์พ้อยท์ลายไม้ออกแบบโดย
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กลุ่มภารกิจกำลังคนด้านสุขภาพ
By Personal Information Management
บทที่ 1 ตลาดของธุรกิจ Catering มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี
Ancient Theme Personal Information Management
ลบกล่องข้อความนี้ก่อนใช้ภาพนิ่งนี้ในงานนำเสนอ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming)
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
PowerPoint 2016.
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
Outlook ทำงานให้คุณ 5 วิธีในการทำให้ ออกจากระบบอย่างมีสไตล์
การเขียนรายงานการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
PowerPoint Template
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
ลบกล่องข้อความนี้ก่อนใช้ภาพนิ่งนี้ในงานนำเสนอ
งานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
เรียนรู้เทคนิคการสร้าง PowerPoint slide Index
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
ลบกล่องข้อความนี้ก่อนใช้ภาพนิ่งนี้ในงานนำเสนอ
E-SERVICE.
เทคนิคการนำเสนอ อย่างมืออาชีพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครูสมนึก แสงศรีจันทร์ วิชา งานเครื่องล่าง รถยนต์ ครูสมนึก แสงศรีจันทร์

จัดทำโดย

ครูสมนึก แสงศรีจันทร์ PowerPoint โดย ครูสมนึก แสงศรีจันทร์ ค ว า ม รู้ คื อ อำ น า จ ครูสมนึก แสงศรีจันทร์ PowerPoint โดย ครูสมนึก แสงศรีจันทร์

งานเครื่องล่างรถยนต์ หนังสือหน้า หมายเลข งานเครื่องล่างรถยนต์ สงวนลิขสิทธิ์ 1/1 1/4 หน่วยที่ 1 ระบบรองรับ น้ำหนักรถยนต์

ระบบรองรับน้ำหนักรถยนต์ หนังสือหน้า หมายเลข 1/2 1/5 สงวนลิขสิทธิ์ จุดมุ่งหมายของหน่วยเรียน 1. อธิบายสาระสำคัญประจำหน่วยได้ 2. อธิบายน้ำหนักที่สปริงรองรับและน้ำหนักที่สปริง ไม่รองรับได้ 3. อธิบายคุณลักษณะของสปริงระบบรองรับรถยนต์ได้ 4. อธิบายระบบรองรับรถยนต์ด้วยแหนบและยาง กันสะเทือนได้ 5. อธิบายระบบรองรับด้วยสปริงขดและทอร์ชันบาร์ได้ 6. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ประณีต รอบคอบและตระหนักถึง ความปลอดภัย

ส่วนประกอบระบบรองรับ หนังสือหน้า หมายเลข 2 1/6 สงวนลิขสิทธิ์ โช้คอัพหน้า เกจวัดรอบ โช้คอัพหลัง กระปุกน้ำมันเบรก หน่วยควบคุม

น้ำหนักเหนือสปริงและใต้สปริง หนังสือหน้า หมายเลข 3 1/7 สงวนลิขสิทธิ์ 1. สปริงรองรับน้ำหนักรถ น้ำหนักรถที่ สปริงรองรับ สปริงไม่รองรับ 2. น้ำหนักเหนือสปริงและใต้สปริงรองรับ น้ำหนักเหนือสปริงน้อย น้ำหนักเหนือสปริง น้ำหนักใต้สปริง น้ำหนักใต้สปริงน้อย

การกระดอนและการโคลงตัวรถ หนังสือหน้า หมายเลข 4/1 1/8 สงวนลิขสิทธิ์ 1. การกระดอนแนวยาวของตัวรถ 2. การโคลงของตัวรถ

การกระโดดและการส่ายของตัวรถ หนังสือหน้า หมายเลข 4/2 1/9 สงวนลิขสิทธิ์ 1. การกระโดดของตัวรถ 2. การส่ายของตัวรถ

การเต้นและการกระดอนของตัวรถ หนังสือหน้า หมายเลข 5/1 1/10 สงวนลิขสิทธิ์ 1. การเต้นของตัวรถ การเต้น การกระดอน การม้วนตัว 2. การกระดอนแนวขวางของตัวรถ

การม้วนตัวและการกระแทกท้าย หนังสือหน้า หมายเลข 5/2 1/11 สงวนลิขสิทธิ์ 1. การม้วนตัวของตัวรถ 2. รถกระแทกท้ายของตัวรถ

ส่วนประกอบลดการสั่นสะเทือนรถนั่ง หนังสือหน้า หมายเลข 6 1/12 สงวนลิขสิทธิ์ โช้คอัพ ยางรถ แหนบ สปริงเบาะรถ สปริงรองรับและโช้คอัพ เหล็กกันโคลง

การยืดหยุ่นของสปริง 1. แรงกระทำต่อลูกโป่ง 2. สปริงสะสมพลังงาน หนังสือหน้า หมายเลข 7 1/13 สงวนลิขสิทธิ์ 1. แรงกระทำต่อลูกโป่ง ปล่อย มือกด ลูกโป่ง 2. สปริงสะสมพลังงาน และสลายออกไป สะสมพลังงาน สลายตัว

ความโค้งและอัตราคืนตัวของแหนบ หนังสือหน้า หมายเลข 8/1 1/14 สงวนลิขสิทธิ์ 1. ความโค้งของแหนบ ความโค้งเดี่ยว ความโค้งรวม 2. อัตราคืนตัว แหนบปลายตัด แหนบปลายเรียว แหนบปลายเรียวยาว

ระบบรองรับรถยนต์ด้วยแหนบ หนังสือหน้า หมายเลข 8/2 1/15 สงวนลิขสิทธิ์ 1. แหนบรองรับเพลาหน้า โครงรถ สาแหรกแหนบ สลักหูแหนบ หูแหนบ เหล็กรัด ฐานยึดโตงเตง แผ่นแหนบ โตงเตง 2. แหนบรองรับเพลาหลัง

ระบบรองรับรถยนต์ด้วยแหนบ หนังสือหน้า หมายเลข 8/3 1/16 สงวนลิขสิทธิ์ 3. แหนบรองรับแนวเอียง 4. แหนบรองรับแนวขวาง

ระบบรองรับรถยนต์ด้วยสปริงขด หนังสือหน้า หมายเลข 11/1 1/17 สงวนลิขสิทธิ์ 1. สปริงขดสมมาตร แท่งสปริง สปริงขดสมมาตร 2. สปริงขดไม่สมมาตร ขดสมมาตร ขดไม่สมมาตร ขดทรงกรวย

ระบบรองรับรถยนต์ด้วยสปริงขด หนังสือหน้า หมายเลข 11/2 1/18 สงวนลิขสิทธิ์ 2500 N 2000 1500 1000 500 0 0.05 0.10 0.15 ม. 0.20 l 0 0.05 0.10 0.15 ม. 0.20

อัตราการสลายพลังงานต่อหน่วยน้ำหนักจะดีกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับแหนบ คุณสมบัติของสปริงขด หนังสือหน้า หมายเลข 12/1 1/19 สงวนลิขสิทธิ์ อัตราการสลายพลังงานต่อหน่วยน้ำหนักจะดีกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับแหนบ สามารถออกแบบให้สปริงมีความนุ่มนวลได้ ไม่มีความฝืดระหว่างแผ่นเหมือนแหนบ จึงไม่มีการควบคุม การเต้นโดยตัวของสปริงเอง แต่จำเป็นต้องใช้ควบคู่ไปกับ โช้คอัพ ไม่มีการต้านทานแรงในแนวขวาง จึงจำเป็นต้องมีกลไก ก้านต่อเพื่อรองรับเพลา

ระบบรองรับรถยนต์ด้วยทอร์ชันบาร์ หนังสือหน้า หมายเลข 12/2 1/20 สงวนลิขสิทธิ์ 1. แหนบ 2. ทอร์ชันบาร์

ระบบรองรับด้วยทอร์ชันบาร์ หนังสือหน้า หมายเลข 12/3 1/21 สงวนลิขสิทธิ์ 1. เปรียบเทียบทอร์ชันบาร์ต้านแรงบิด ทิศทางของการบิด การต้านแรงบิด ปลายยึดทอร์ชันบาร์ 2. ระบบรองรับรถยนต์ ด้วยทอร์ชันบาร์ ปีกนกตัวบน ขายึด ทอร์ชันบาร์ เหล็กกันโคลง ปีกนกตัวล่าง เหล็กหนวดกุ้ง

กิจกรรมที่ 1 เรื่องระบบรองรับน้ำหนักรถยนต์ หนังสือหน้า หมายเลข 13 1/22 สงวนลิขสิทธิ์ เรื่องระบบรองรับน้ำหนักรถยนต์ ตอนที่ 1 จงเติมคำในช่อว่างต่อไปนี้ 1. แหนบรถยนต์มีหน้าที่สำคัญ 2 อย่าง คืออะไร 1.1 ………………………………………………………………………………………………………….……………………………..…………. 1.2 ………………………………………………………………………………………………………….……………………………..…………. 2. เปรียบเทียบแหนบและสปริงรองรับรถยนต์ การเลือกใช้ต้องพิจารณาถึงน้ำหนัก เนื้อที่ ความแข็ง รับแรงแนวยาว-แนวขวาง ยืดหยุ่น ทนสิ่งแวดล้อม การบำรุงรักษาและราคา ซึ่งมีข้อดีข้อเสียต่อ การใช้งานดังนี้ ลักษณะ ประเภท ……………………………… ………………….… ………………...…..……...… ………………….. …………..……. ข้อดี ………………………………… .……………..….… …………………...…..…....… .………………….. …………..……. ข้อเสีย ………………………………… ………………….… …………………...…..…...… ………………….. …………..……. ใช้งาน ………………………………… ………………….… …………………...…..…...… ………………….. …………...…

กิจกรรมที่ 1 ตอนที่ 2 จงทำเครื่องหมายถูก ( ) หน้าข้อย่อยที่ถูกที่สุด หนังสือหน้า หมายเลข 14/1 1/23 สงวนลิขสิทธิ์ ตอนที่ 2 จงทำเครื่องหมายถูก ( ) หน้าข้อย่อยที่ถูกที่สุด 1. แหนบที่ยาวที่สุดคือแผ่นใด ก. แผ่นอันบน ข. แผ่นอันล่าง ค. แหนบทั้งบนและล่าง ง. แหนบแผ่นอันกลาง 2. ด้านหน้าของหูแหนบยึดอยู่กับอะไร ก. โครงรถด้วยสลัก ข. โครงรถด้วยโตงเตง ค. โครงรถด้วยสลักยู ง. โครงรถด้วยสาแหรกแหนบ 3. แหนบแผ่นในรถจะโค้งมากที่สุดเมื่อใด ก. มีน้ำหนักบรรทุกมาก ข. มีน้ำหนักบรรทุกปานกลาง ค. มีน้ำหนักบรรทุกเพียงครึ่งเดียว ง. ไม่มีน้ำหนักบรรทุก 4. ถ้าติดตั้งสปริงขดไว้บนปีกนกอันบน ปลายอีก ด้านหนึ่งของสปริงขดจะยึดอยู่กับอะไร ก. ใต้โครงรถ ข. เบ้ารองรับต่อจากโครงรถ ค. ใต้ตัวรถ ง. เบ้าปีกนก 5. ปลายด้านในของทอร์ชันบาร์ยึดอยู่กับอะไร ก. ปีกนกอันบน ข. ปีกนกอันล่าง ค. แกนล้อ ง. โครงรถ 6. การบิดตัวของทอร์ชันบาร์เหมือนกับอะไร ก. แหนบแผ่น ข. หมอนลม ค. สปริงขด ง. ยาง 7. ข้อดีของทอร์ชันบาร์ประการหนึ่งคืออะไร ก. ถอดเปลี่ยนได้ ข. ซ่อมได้ง่าย ค. ไม่มีการหัก ง. ปรับแต่งได้

กิจกรรมที่ 1 8. ขณะที่รถเลี้ยวซ้าย สปริงรองรับด้านขวามือจะเป็นอย่างไร หนังสือหน้า หมายเลข 11 1/20 สงวนลิขสิทธิ์ 8. ขณะที่รถเลี้ยวซ้าย สปริงรองรับด้านขวามือจะเป็นอย่างไร ก. ยืดตัว ข. ยุบตัว ค. คงตัว ง. ไม่มีข้อถูก 9. น้ำหนักเหนือสปริงรองรับมีมาก มีผลอะไร ก. ยางรถคงทน ข. เกิดการกระแทกตัวง่าย ค. สะดวกสบายในการขับขี่ ง. สะดวกสบายในการบังคับเลี้ยว 10. น้ำหนักใต้สปริงรองรับมีมาก มีผลอะไร ตอนที่ 3 จงเติมข้อความต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ 1. จงเขียนหน้าที่ระบบรองรับมา 3 ข้อ 2. ระบบรองรับประกอบขึ้นด้วยส่วนประกอบเบื้องต้นหลัก 4 อย่าง แต่ละอย่างมีหน้าที่อย่างไร 3. น้ำหนักที่สปริงรองรับและน้ำหนักที่สปริงไม่รองรับ หมายถึงอะไร 4. จงเขียนคุณสมบัติของสปริงขด 5. จงเขียนข้อดีของทอร์ชันบาร์มา 2 ข้อ 6. การเกิดรถกระแทกท้ายคืออะไร ควรจำกัดอย่างไร 7. ทำไมต้องใช้ยางรองกันสะเทือนในรถยนต์ จงยกตัวอย่าง

ระบบรองรับ น้ำหนักรถยนต์ จบหน่วยที่ 1 ระบบรองรับ น้ำหนักรถยนต์