แนวทางการจัดทำรายงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ทบทวน “ เรื่อง แผน กัน หน่อย. เราทำแผน เพื่ออะไร.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แนวทางการจัดทำรายงาน การควบคุมภายในประจำปี 2561
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทบทวนระบบการควบคุมภายใน
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
ของ สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
1.
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
เฟื่องฟ้า เทียนประภาสิทธิ์
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การติดตาม (Monitoring)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การดำเนินงานต่อไป.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
คู่มือการบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดทำรายงาน การติดตามประเมินผล การควบคุมภายใน ประจำปี 2559

สพฐ.กำหนดหน่วยรับตรวจและส่วนงานย่อย ดังนี้ 1. สพฐ. 2. สพป./สพม. 3. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม/หน่วย กลุ่ม/งาน

แบบฟอร์มของหน่วยรับตรวจ แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.1 แบบ ปอ.3 แบบ ติดตาม ปอ.3 หนังสือรับรองการประเมินผล การควบคุมภายใน รายงานผล การประเมินองค์ประกอบ ของการควบคุมภายใน รายงานแผน การปรับปรุง การควบคุมภายใน รายงานผล การติดตาม การปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน

แบบฟอร์มของหน่วยงานย่อย แบบ ปย.1 แบบ ติดตาม ปย.2 แบบ ปย.2 รายงานผล การประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน รายงานผล การติดตาม การปฏิบัติตามแผน การปรับปรุง การควบคุมภายใน รายงาน การประเมินผลและการปรับปรุง การควบคุมภายใน

ระบบการควบคุมภายใน ประจำปี 2559 แบ่งออกเป็น 2 รอบ ดังนี้ การติดตามประเมินผล ระบบการควบคุมภายใน ประจำปี 2559 รอบ 6 เดือน รอบ 12 เดือน แบ่งออกเป็น 2 รอบ ดังนี้

รอบ 6 เดือน (สพฐ., สพป., สพม.) สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มี.ค. 2559 1. ส่วนงานย่อยนำแบบ ปย.2 ของปี 58 มาติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน แล้วสรุป ลงในแบบติดตาม ปย. 2

กระบวนการปฏิบัติงาน/ ด้านของงานที่ประเมิน สำนัก/กลุ่ม/งาน/...................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 แบบติดตาม ปย. 2 กระบวนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/กิจกรรม/ ด้านของงานที่ประเมิน และวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) การควบคุม ที่มีอยู่ (2) การ ประเมินผล (3) ความเสี่ยง ที่ยังมียู่ (4) การปรับปรุง (5) กำหนด เสร็จ/ผู้รับ ผิดชอบ (6) วิธีการติดตามและ สรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น (7) ชื่อผู้รายงาน...........................ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น สำนัก/กลุ่ม/งาน/...................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 แบบติดตาม ปย. 2 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ ด้านของงาน (1) ช่อง (2)-( 5) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (6) วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น (7) 1. วิธีการติดตามติดตามจากอะไร (เอกสาร/ สอบถาม/ สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง) 2. แต่ละกิจกรรมได้ดำเนินการตามแผนการปรับปรุง การควบคุมภายในหรือไม่ อย่างไร 3. สรุปผลการดำเนินงาน

รอบ 6 เดือน (สพฐ., สพป., สพม.) 2. ส่วนงานย่อยส่งแบบติดตาม ปย.2 รอบ 6 เดือน (สพฐ., สพป., สพม.) 2. ส่วนงานย่อยส่งแบบติดตาม ปย.2 ให้ผู้รับผิดชอบของหน่วยรับตรวจ 3. ผู้รับผิดชอบของหน่วยรับตรวจนำ แบบติดตาม ปย.2 มาสรุปใน แบบ ติดตาม ปอ.3 4. หน่วยรับตรวจ (เฉพาะ สพป./สพม.) ส่งแบบติดตาม ปอ. 3 ให้ สพฐ. ภายในวันที่ 30 เมษายน 2559 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มี.ค. 2559

สพฐ./สพม./สพป....................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 แบบติดตาม ปอ.3 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงานที่จะประเมินและวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ (2) งวด/เวลา พบจุดอ่อน (3) การปรับปรุง การควบคุม (4) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (5) วิธีการติดตามและ สรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น (6) ชื่อผู้รายงาน........................... ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น สพฐ. /สพป./สพม............... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2559 แบบติดตาม ปอ.3 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงาน (1) ช่อง (2)-(4) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (5) วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น (6) 1.วิธีการติดตามติดตามจากอะไร (เอกสาร/ สอบถาม/ สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง ) 2. แต่ละกิจกรรมได้ดำเนินการตาม แผนการปรับปรุงการควบคุมภายในหรือไม่ อย่างไร 3. สรุปผลการดำเนินงาน

รอบ 12 เดือน (สพฐ., สพป., สพม.,โรงเรียน) รอบ 12 เดือน (สพฐ., สพป., สพม.,โรงเรียน) สิ้นสุด ณ วันที่ 30 ก.ย. 2559 ก. ส่วนงานย่อย (สำนัก/กลุ่ม/งาน) 1. นำแบบ ปย.2 (ปี 58) มาติดตามผลการปฏิบัติงาน แล้วสรุปลงใน แบบติดตาม ปย.2 (สพฐ.ได้กำหนดแบบให้)

สำนัก/กลุ่ม/งาน...................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 แบบติดตาม ปย. 2 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงานที่จะประเมินและวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) การควบคุม ที่มีอยู่ การ ประเมินผล ความเสี่ยง ปรับปรุง ควบคุม กำหนด เสร็จ/ผู้รับ ผิดชอบ วิธีการ ติดตามและ สรุปผลการประเมิน/ ข้อคิดเห็น (2) (3) (4) (5) (6) (7) ชื่อผู้รายงาน...........................ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น สำนัก/กลุ่ม/งาน...................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 แบบติดตาม ปย. 2 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ ด้านของงาน (1) ช่อง (2)-( 5) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (6) วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น (7) 1. วิธีการติดตามติดตามจากอะไร (เอกสาร/ สอบถาม/ สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง) 2. แต่ละกิจกรรมได้ดำเนินการตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในหรือไม่ อย่างไร 3. สรุปผลการดำเนินงาน

รอบ 12 เดือน (สพฐ., สพป., สพม.,โรงเรียน) รอบ 12 เดือน (สพฐ., สพป., สพม.,โรงเรียน) สิ้นสุด ณ วันที่ 30 ก.ย. 2559 2. ประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน (5 องค์ประกอบ) (อยู่ในหนังสือหน้า 87-96) แล้วสรุปลงในแบบ ปย. 1 (อยู่ในหนังสือหน้า 58)

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน / ข้อสรุป สำนัก/กลุ่ม/งาน....................................................... รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 ปย. 1 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน / ข้อสรุป 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล ชื่อผู้รายงาน...........................ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

3. ประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง (CSA)

การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง Control self Assessment (CSA) ให้แก่ทุกคนที่เป็นเจ้าของงานนั้น วิธีการ 1. นำกระบวนการปฏิบัติงานกับวัตถุประสงค์ของงานมาเชื่อมโยงกัน 2. ระบุการควบคุมภายในที่มีอยู่ของงานนั้น 3. ประเมินความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ ผลที่ได้/ประโยชน์ 1. ผู้ปฏิบัติเข้าใจกระบวนการทำงานและวัตถุประสงค์ของงานนั้น 2. เข้าใจความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ของงาน 3. สามารถกำหนดการควบคุมภายในที่จำเป็นเพื่อลดความเสี่ยงในระดับยอมรับได้ 4. สามารถกำหนดแผนปฏิบัติเพื่อปรับปรุงการควบคุมภายในให้เหมาะสม

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 1. ให้วิเคราะห์งาน/กิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูง พร้อมระบุวัตถุประสงค์ของงาน / กิจกรรมนั้น

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 2 งาน/กิจกรรมนั้นมีขั้นตอนหรือกระบวนการปฏิบัติอะไรบ้าง หรือทำอย่างไร ที่จะทำให้บรรลุตามวัตถุประสงค์

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 3 ให้วิเคราะห์ว่าขั้นตอนหรือกระบวนการปฏิบัติจริง (จากข้อ 2) ในขณะประเมิน ปฏิบัติอย่างไร

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่4 จากกิจกรรมที่ปฏิบัติอยู่ผลการประเมิน เป็นอย่างไร (บรรลุวัตถุประสงค์ /ไม่บรรลุวัตถุประสงค์) ถ้าไม่บรรลุวัตถุประสงค์มีความเสี่ยงอะไร

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 5 ให้พิจารณาว่า ถ้าพบยังมีความเสี่ยงอยู่ (ปัญหา) เกิดจากสาเหตุอะไร จะแก้ไขอย่างไร ใครเป็นคนแก้ไข

การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง Control self Assessment (CSA)  กำหนดกิจกรรมการควบคุมใหม่หรือเพิ่มเติมเพื่อลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ (แก้ที่ต้นเหตุ/สาเหตุ ) งานที่มีความเสี่ยงสูง CSA ประเมินการควบคุม ด้วยตนเอง   ต้องการให้เกิดผลสำเร็จอะไร   แผนปรับปรุง การควบคุม วัตถุประสงค์ ของงาน  เข้าใจความเสี่ยง ที่อาจกระทบต่อ วัตถุประสงค์(หลัก) ปัจจัยเสี่ยงที่ยังมีอยู่ กระบวนการ ปฏิบัติงาน  ขั้นตอนงานมีอะไรบ้าง  กิจกรรมควบคุมที่มี  ถ้างานยังมีความเสี่ยง วิเคราะห์หาต้นเหตุ/สาเหตุ เกิดจากอะไร(ปัจจัยภายใน หรือภายนอก) มี หรือไม่/ ถ้ามี อะไรบ้าง เช่น คู่มือการปฏิบัติงาน การรายงาน ถ้ามีประสิทธิภาพงานบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย (ไม่เสี่ยง) งานไม่บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย(เสี่ยง) การควบคุมไม่มีประสิทธิภาพ ( ที่มา :ปรับจากแนวทางวางระบบควบคุมภายในฯ, สตง.)

4. นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลืออยู่จากการติดตาม ปย 4. นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลืออยู่จากการติดตาม ปย.2 + ความเสี่ยงจากการประเมิน 5 องค์ประกอบ และการประเมิน CSA มาหามาตรการ/แนวทางในการควบคุม พร้อมทั้งกำหนด ผู้รับผิดชอบและระยะเวลาดำเนินการแล้วสรุปลงใน แบบ ปย.2(อยู่ในหนังสือหน้า 60)

กระบวนการปฏิบัติงาน/ ด้านของงานที่ประเมิน สำนัก/กลุ่ม/งาน............................. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2559 แบบ ปย. 2 กระบวนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/กิจกรรม/ ด้านของงานที่ประเมิน และวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) การควบคุม ที่มีอยู่ (2) การ ประเมินผล (3) ความเสี่ยง ที่ยังมียู่ (4) ปรับปรุง ควบคุม (5) กำหนด เสร็จ/ผู้รับ ผิดชอบ (6) หมายเหตุ (7) ชื่อผู้รายงาน...........................ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

สรุปขั้นตอนการจัดทำรายงาน ก. ส่วนงานย่อย (สำนัก/กลุ่ม/งาน) แบบ ปย.2 (ปี 58 ) ประเมิน 5 องค์ประกอบ ประเมินด้วยตนเอง (CSA) แบบสอบถาม (ถ้ามี) แบบ ปย.1 แบบติดตาม ปย.2 แบบ ปย.2 ( ปี 59) แบบ ปอ.3 (สำนัก/กลุ่ม /งาน)

สรุปแบบรายงานที่ สำนัก /กลุ่ม/ งาน ต้องดำเนินการ แบบที่จัดส่งให้ผู้รับผิดชอบ - แบบ ปย. 1 - แบบ ปย. 2 - แบบติดตาม ปย. 2 แบบที่เก็บไว้ที่ สำนัก/กลุ่ม/งาน - แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ

ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ข. หน่วยรับตรวจ (สพฐ./สพป./สพม./โรงเรียน) ณ วันที่ 30 ก.ย. 59 1. แต่งตั้งคณะทำงาน/กรรมการ 2. นำแบบ ปอ.3 (ปี 58) มาติดตามผล การปฏิบัติงานแล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปอ.3 (สพฐ. กำหนดแบบให้)

สพฐ. /สพป. /สพม. /โรงเรียน สพฐ./สพป./สพม./โรงเรียน...................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 แบบติดตาม ปอ.3 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงานที่จะประเมินและวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ (2) งวด/เวลา พบจุดอ่อน (3) การปรับปรุง การควบคุม (4) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (5) วิธีการติดตามและ สรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น (6) ชื่อผู้รายงาน........................... ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น สพฐ./สพป./สพม./โรงเรียน....................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 แบบติดตาม ปอ.3 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงาน (1) ช่อง (2)-(4) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (5) วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น (6) 1.วิธีการติดตามติดตามจากอะไร(เอกสาร/ สอบถาม/ สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง ) 2. มีการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมหรือไม่อย่างไร 3. สรุปผลการดำเนินงานให้ระบุเป็นร้อยละ/จำนวน พร้อมทั้งให้ความเห็นว่าจะต้องทำแผนการปรับปรุงเพิ่มเติมหรือความเสี่ยงลดลงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้

ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 3. ประเมินองค์ประกอบของการควบคุม ภายใน (5 องค์ประกอบ) (อยู่ในหนังสือหน้า 87-96) แล้วสรุปลงใน แบบ ปอ. 2 (อยู่ในหนังสือหน้า 52)

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป สพฐ./สพป./สพม./โรงเรียน................................ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 แบบ ปอ.2 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล ชื่อผู้รายงาน........................... ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 4. นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลือจากแบบติดตาม ปอ. 3 และจากการประเมิน 5 องค์ประกอบ และ แบบ ปย. 2 ของสำนัก/กลุ่ม/งานที่ส่งมาให้คณะทำงาน/กรรมการพิจารณาคัดเลือกกิจกรรม เพื่อจัดทำ แบบ ปอ.3 (อยู่ในหนังสือหน้า 54)

สพฐ. /สพป. /สพม. /โรงเรียน สพฐ./สพป./สพม./โรงเรียน...................... รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 แบบ ปอ.3 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงานที่จะประเมินและวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ (2) งวด/เวลา พบจุดอ่อน (3) การปรับปรุง การควบคุม (4) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (5) หมายเหตุ (6) ชื่อผู้รายงาน.......................... ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........

ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 5. นำความเสี่ยงที่มีอยู่ในแบบ ปอ. 3 มาสรุปเป็นความเรียงลงใน แบบ ปอ.1 (แบบอยู่ในหนังสือ หน้า 50 - 51)

หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน แบบ ปอ. 1 วรรคที่ 1 (ชื่อหน่วยรับตรวจ) ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่............เดือน.............พ.ศ..... ด้วยวิธีการที่ (ชื่อหน่วยรับตรวจ)กำหนดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า วรรคที่ 2 จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ (ชื่อหน่วยรับตรวจ) สำหรับปีสิ้นสุด วันที่............เดือน................พ.ศ. .............. วรรคที่ 3 อนึ่ง การควบคุมภายในยังคงมีจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญดังนี้ 1………………………………………… 2………………………………………… ลายมือชื่อ.......................................................... (เลขาธิการ กพฐ./ผอ.สพป./สพม./ผอ.ร.ร.) วันที่ ............เดือน..............................พ.ศ...............

บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน ระเบียบ คตง. ว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของ ผู้ตรวจสอบภายใน กำหนดหน้าที่ ดังนี้ ประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (CSA) สอบทานการประเมินผล สอบทานรายงาน จัดทำรายงานแบบ ปส.

รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน ของผู้ตรวจสอบภายใน (กรณีไม่มีข้อตรวจพบหรือข้อสังเกต) แบบ ปส. เรียน เลขาธิการ กพฐ. /ผอ. สพป. /ผอ.สพม. ข้าพเจ้าได้สอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของ....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)................ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ ......เดือน.............พ.ศ.......... การสอบทานได้ปฏิบัติอย่างสมเหตุสมผลและระมัดระวังอย่างรอบคอบผลการสอบทานพบว่าการประเมินผลการควบคุมภายในเป็นไปตามวิธีการที่กำหนดระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของ การควบคุมภายใน ชื่อผู้รายงาน....................................................... (ชื่อผู้อำนวยการหน่วยตรวจสอบภายใน) ตำแหน่ง........................................................... วันที่................ เดือน..................พ.ศ. .................

รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน ของผู้ตรวจสอบภายใน (กรณีที่มีข้อตรวจพบหรือข้อสังเกต) แบบ ปส. เรียน เลขาธิการ กพฐ. /ผอ. สพป. /ผอ.สพม. ข้าพเจ้าได้สอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของ....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)................ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ ......เดือน.............พ.ศ.......... การสอบทานได้ปฏิบัติอย่างสมเหตุสมผลและระมัดระวังอย่างรอบคอบผลการสอบทานพบว่าการประเมินผลการควบคุมภายในเป็นไปตามวิธีการที่กำหนดระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของ การควบคุมภายใน อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตที่มีนัยสำคัญดังนี้....................................................... ............................................................................................................................................................. ชื่อผู้รายงาน....................................................... (ชื่อผู้อำนวยการหน่วยตรวจสอบภายใน) ตำแหน่ง........................................................... วันที่................ เดือน..................พ.ศ. .................

สรุปขั้นตอนการจัดทำรายงาน ข. หน่วยรับตรวจ (สพฐ./ สพป./ สพม./ ร.ร.) แบบปอ.3 ( ปี 58) ประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบ ปย.2 (ส่วนงานย่อย) แบบติดตาม ปอ. 3 แบบ ปอ.2 แบบปอ.3 ( ปี 59) แบบ ปอ.1 แบบ ปส.

สรุปแบบรายงานการควบคุมภายใน (สพฐ. /สพป./สพม./โรงเรียน) หน่วยรับตรวจ (สพฐ. /สพป./สพม./โรงเรียน) ส่วนงานย่อย (สำนัก/กลุ่ม/งาน) แบบรายงานที่ต้องจัดส่ง แบบ ปอ. 1 - สพฐ. ส่ง สตง. รมว.ศธ. คตป. - สพป./สพม. ส่ง สตง. สพฐ. คตป. ศธ. - โรงเรียน ส่ง สตง. สพป./สพม. แบบรายงานที่เก็บไว้ที่หน่วยงาน 1. แบบ ปอ. 2 2. แบบ ปอ. 3 3. แบบ ปส. (เฉพาะสพฐ./สพป./สพม.) 4. แบบติดตาม ปอ.3 5. แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบรายงานที่จัดส่งให้ 1. แบบ ปย. 1 2. แบบ ปย. 2 3. แบบติดตาม ปย.2 แบบรายงานที่จัดเก็บ - แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ

การจัดส่งรายงาน แบบ ปอ. 1 - ส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 แบบ ปอ. 1 คตป.ศธ. สพฐ. แบบ ปอ. 1 - ส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 ส่วนแบบ ปอ. 2 และปอ.3 เก็บไว้ที่หน่วยงาน แบบ ปอ. 1 สพป./สพม. แบบ ปอ. 1 ส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 - ส่วนแบบ ปอ. 2 และปอ.3 เก็บไว้ที่หน่วยงาน สตง.ภูมิภาค โรงเรียน แบบ ปอ. 1

ขอบคุณ “คนที่ทำงานเก่ง มีโอกาสก้าวหน้าในอาชีพ “คนที่ทำงานเก่ง มีโอกาสก้าวหน้าในอาชีพ   แต่คนที่ทำงานเป็นทีมเก่ง มีโอกาสเป็นผู้นำที่ประสบความสำเร็จ” ขอบคุณ 素材天下网 sucaitianxia.com-PPT模板免费下载