แนวทางการใช้ HA Overall Scoring

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ทีม โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
รายงานการประเมินตนเอง SAR (Self-assessment Report)
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการใช้ HA Overall Scoring ปีงบประมาณ 2553 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 11 พฤศจิกายน 2552

เป็นเครื่องมือประเมินความก้าวหน้า ของการนำมาตรฐาน HA มาสู่การปฏิบัติ HA Scoring คืออะไร เป็นเครื่องมือประเมินความก้าวหน้า ของการนำมาตรฐาน HA มาสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เห็นโอกาสพัฒนา นำไปสู่การพัฒนาและเรียนรู้ และระบบที่มี maturity เพิ่มขึ้น

Maturity ของการพัฒนา Scoring Guidelines Scoring guideline เป็นเครื่องมือสำคัญเพื่อเป้าหมายสองประการคือ 1) เพื่อส่งเสริมให้ รพ.มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ยกระดับ maturity ของการพัฒนาให้สูงขึ้นเป็นลำดับ 2) เพื่อช่วยให้มีมาตรฐานในการตัดสินใจรับรองโรงพยาบาล แนวทางการให้คะแนนนี้ดัดแปลงมาจากแนวทางของ MBNQA/TQA แต่ทำให้ง่ายขึ้นด้วยการปรับให้เป็น 5 ระดับ คะแนน 1 หมายถึงการเริ่มต้นพัฒนาในเรื่องง่ายๆ เช่น โครงสร้างกายภาพ การตั้งทีม กิจกรรมข้อเสนอแนะ กิจกรรม 5 ส. เป็นต้น คะแนน 2 หมายถึงการวางระบบที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของ รพ. มีการสื่อสารทำความเข้าใจ และเริ่มนำไปปฏิบัติ ยังมีประเด็นสำคัญที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม คะแนน 3 หมายถึงการออกแบบระบบที่ดี มีการนำไปปฏิบัติด้วยความเข้าใจ สามารถแสดงให้เห็นการบรรลุเป้าหมายพื้นฐานของมาตรฐานได้ เริ่มมีการประเมินความสำเร็จด้วยวิธีง่ายๆ คะแนน 4 หมายถึงมีการประเมินและปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ มีบูรณาการกับหน่วยงาน กระบวนการ ระบบงาน แผนงาน ที่เกี่ยวข้อง และมีการใช้นวตกรรมเพื่อออกแบบระบบงานใหม่ คะแนน 5 หมายถึงมีผลการดำเนินที่เด่นชัด มีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่องพ้นจากค่าเฉลี่ย สามรถเป็นแบบอย่างของการพัฒนาได้

ประเภทของ HA Scoring ประเมินในรายละเอียดของแต่ละข้อย่อย Detailed Scoring ประเมินในรายละเอียดของแต่ละข้อย่อย (multiple requirement) ใช้สำหรับการเตรียมตัวและการเยี่ยมสำรวจเพื่อการรับรอง HA (บันไดขั้นที่ 3) Overall Scoring ประเมินตามข้อกำหนดโดยรวม (overall requirement) ใช้เวลาน้อยลงในการเข้าถึงหัวใจของข้อกำหนด ใช้เป็นเกณฑ์ในการพิจารณารับรองขั้นที่ 1 & 2 เป็นคะแนน 5 ระดับทั้งคู่ แต่คะแนนที่ได้จาก Overall Scoring จะสูงกว่า (การประเมินในรายละเอียด จะทำให้เห็นโอกาสพัฒนามากขึ้น)

ข้อควรระวัง การรักษาสมดุลระหว่างแรงจูงใจกับคุณค่าที่แท้จริง คะแนนคุณภาพที่ สปสช.นำมาใช้จัดสรรเงิน เป็นแรงจูงใจ คุณค่าที่แท้จริงอยู่ที่การทบทวน ไตร่ตรอง และพัฒนา ด้วยความเข้าใจโดยโรงพยาบาลอยู่ตลอดเวลา การประเมินที่ใกล้เคียงความจริงที่สุด ต้องอาศัย ความเข้าใจ การเปิดใจ จิตใจที่เป็นกลาง ของทั้งโรงพยาบาล และผู้แทนของ สรพ.

การเปลี่ยนแปลงสำคัญในปี 2553 เกณฑ์การคิดคะแนนคุณภาพ ใช้ HA Overall Score โดยไม่ต้องปรับเป็น Standard Score & Final Score กำหนดเกณฑ์ HA Overall Score เพื่อการพิจารณารับรองบันไดขั้นที่ 1 และ 2 โรงพยาบาลต้องแสดงความจำนงขอรับการประเมิน เพิ่มหัวข้อประเมินในเรื่องกิจกรรมทบทวนคุณภาพ

เกณฑ์การคิดคะแนนคุณภาพจาก HA คะแนนคุณภาพของ สปสช. รพ. ที่ได้รับ HA หรืออยู่ระหว่างการต่ออายุ 5 รพ. ที่ได้รับการรับรองขั้นที่ 2 4 รพ. ที่ได้รับการรับรองขั้นที่ 1 3

การใช้ HA Overall Score โดยตรง การปรับเป็น Standard Score & Final Score ต้องรอคะแนนของทุกโรงพยาบาล การใช้ HA Overall Score ทำให้โรงพยาบาลสามารถเปรียบเทียบกับคะแนนที่ผ่านมาของตนได้ดีกว่า

HA Overall Score กับบันได 3 ขั้น รับรอง 1 ปี >= 1.5 หมวด II-1.2 กิจกรรมทบทวนคุณภาพ >= 3 บันไดขั้นที่ 2 สู่ HA รับรอง 1 ปี >= 2.5 หมวด II-1.2 กิจกรรมทบทวนคุณภาพ >= 3 หมวดคุณภาพอื่นๆ >= 2.5 (I-6, II-1.1, II-1.2ก, II-1.2ข) รับรอง 2 ปี >= 3.0

เกณฑ์พิจารณาบันไดขั้นที่ 1 & 2 สู่ HA คะแนน overall score ไม่น้อยกว่า 2.5 หมวด II-1.2 กิจกรรมทบทวนคุณภาพไม่น้อยกว่า 3 หมวดคุณภาพอื่นๆ (I-6, II-1.1, II-1.2ก, II-1.2ข ไม่น้อยกว่า 2.5 Overall Scoring ทุกหมวด Y Score >=3 บันไดขั้นที่ 2 อายุ 2 ปี Q Score =4 N Y Score >=2.5 บันไดขั้นที่ 2 อายุ 1 ปี Q Score =4 N Y Score>=1.5 บันไดขั้นที่ 1 อายุ 1 ปี Q Score=3 N พัฒนาและหาโอกาสประเมินซ้ำ เกณฑ์การพิจารณาให้กิตติกรรมประกาศบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA คะแนน overall score ไม่น้อยกว่า 1.5 หมวด II-1.2 กิจกรรมทบทวนคุณภาพไม่น้อยกว่า 3

การใช้ประโยชน์จาก Overall Scoring รพ.ที่ยังไม่ได้รับบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA ประเมินเพื่อปรับระดับ รพ.ที่บันไดขั้นที่ 2 หมดอายุก่อน 30 กค. 53 ประเมินเพื่อต่ออายุบันไดขั้นที่ 2 รพ.ที่บันไดขั้นที่ 2 หมดอายุตั้งแต่ 30 กค. 53 และหลังจากนั้น ประเมินเพื่อรักษา momentum ของการพัฒนา ประเมินเพื่อขยายอายุการรับรองขั้นที่ 2 ประเมินความพร้อมในการขอรับรอง HA

การใช้ประโยชน์จาก Overall Scoring รพ.ที่ได้ HA และยังไม่ถึงกำหนดต่ออายุ ประเมินเพื่อรักษา momentum ของการพัฒนา ประเมินความพร้อมในการขอรับรอง HA รพ.ที่ครบกำหนดต่ออายุ HA แต่ยังไม่พร้อมรับ accreditation survey ประเมินเพื่อรักษา momentum ของการพัฒนา ประเมินรักษาสถานภาพการรับรอง (แต่ได้เพียงขั้นที่ 2)

Scoring สำหรับกิจกรรมทบทวนคุณภาพ มีการทบทวนเป็นครั้งคราว มีการทบทวนที่สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน มีการทบทวนที่ครอบคลุมโอกาสเกิดปัญหาสำคัญ, นำมาสู่การปรับปรุงระบบงาน มีการทบทวนที่บูรณาการเข้าเป็นกิจกรรมประจำของหน่วยงาน, มีการติดตามการปฏิบัติและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น มีวัฒนธรรมของการทบทวนคุณภาพการดูแลผู้ป่วย รวมทั้งการมีระบบ concurrent monitoring ในรูปแบบต่างๆ

ตัวอย่างการบูรณาการกิจกรรมทบทวนคุณภาพเข้ากับงานประจำ การทบทวนข้างเตียงผู้ป่วย ทบทวนคนเดียวหรือทบทวนกับเพื่อนเมื่อมีโอกาสเพื่อเพิ่มความไวในการค้นหาปัญหาของผู้ป่วย ไม่จำเป็นต้อง C3THER ทุกตัว ทบทวนกับทีมสหสาขาวิชาชีพเพื่อผู้ป่วยมีความซับซ้อนหรือมีประเด็นน่าสนใจ ไม่เน้นการจดบันทึก แต่เน้นการทบทวนให้บ่อย การทบทวนเมื่อเกิดเหตุการณ์สำคัญ ทำทุกโอกาสที่รับรู้ข้อมูลจากช่องทางต่างๆ เช่น มีการเสียชีวิต มีรายงานอุบัติการณ์รุนแรง การทบทวนเวชระเบียนที่คัดกรองด้วย trigger การทบทวนเวชระเบียน ใช้แบบฟอร์มการประเมินของ สปสช. อย่างสม่ำเสมอ

PSG : SIMPLE & CQI ขอให้ รพ.ดำเนินการเหมือนปีที่ผ่านมา การประเมินจะรวมอยู่ในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง การประเมิน PSG (SIMPLE และประเด็นที่เป็นปัญหาของ รพ.) จะรวมอยู่ในหมวดการบริหารความเสี่ยงและคุณภาพทางคลินิก การประเมิน CQI จะรวมอยู่ในหมวดการจัดการกระบวนการ

การเยี่ยมเพื่อรับรู้และเรียนรู้คุณภาพ Educational Evaluation Consultative Evaluation เน้นการเรียนรู้มากกว่าการประเมิน คะแนนเป็นเครื่องมือบ่งชี้ประเด็นที่สมควรพูดคุยปรึกษากัน ทำความเข้าใจ scoring guideline หรือสิ่งที่ควรดำเนินการ ทำความเข้าใจบริบทของโรงพยาบาล เรียนรู้จากสิ่งที่โรงพยาบาลดำเนินการไปแล้ว ร่วมกันหาแนวทางเพื่อการพัฒนาต่อเนื่อง เมื่อทำซ้ำหลายๆ รอบ ทีมงานของโรงพยาบาลจะเก่งขึ้นในการประเมินตนเอง

ลักษณะการเรียนรู้ หัวใจอยู่ที่ 3S – Safety, Standards, Spirituality เริ่มด้วยการใช้เรื่องเล่าที่เปิดโอกาสให้ทุกคนบอกเล่าเรื่องดีๆ ใช้การตามรอยเพื่อให้เห็นของจริง ดูระบบที่รัดกุมเพื่อความปลอดภัย การป้องกันความเสี่ยง ดูการปฏิบัติตามมาตรฐาน HA ใช้แนวคิดเชิงระบบเพื่อถอดบทเรียนและวางแผนร่วมกัน