ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
อ. ปิยวรรณ โถปาสอน
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ

เรื่องที่ 2.๒.1 บทบาทหน้าที่ตามภารกิจหลักของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร

เรื่องที่ ๒.๒.๒ บทบาทหน้าที่ตามภารกิจเสริม ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ

เกษตรอำเภอ

นักวิชาการ ส่งเสริมการเกษตรชำนาญการพิเศษ ๒. ๑. เกษตรอำเภอ 1. นักวิชาการ ส่งเสริมการเกษตรชำนาญการพิเศษ ๒. นักวิชาการ ส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ๓. เจ้าพนักงานการเกษตรอาวุโส

บทบาทหน้าที่ของเกษตรอำเภอ 1. ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน การปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาการเกษตร ให้สอดคล้องหรือเป็นไปตามนโยบายของกรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตลอดจนทิศทางการพัฒนาของจังหวัดและอำเภอ 2. ติดตามความก้าวหน้าของกิจกรรม โครงการส่งเสริมการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอหรืองานที่ได้รับมอบหมายจากอำเภอ

บทบาทหน้าที่ของเกษตรอำเภอ 3. บริหารจัดการงานด้านการให้บริการทางการเกษตรในระดับอำเภอ

บทบาทหน้าที่ของเกษตรอำเภอ ๔. มอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล ให้คำปรึกษา แก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานเกษตรอำเภอให้เป็นไปตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ของแผนงาน นโยบายและระเบียบของทางราชการที่กำหนดไว้

บทบาทหน้าที่ของเกษตรอำเภอ ๕. เป็นผู้แทนส่วนราชการในคณะกรรมการฯ คณะอนุกรรมการฯ หรือคณะทำงานในระดับอำเภอ ทั้งในส่วนของหน่วยงานภายในและภายนอกในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย 6. ปฏิบัติราชการแทนนายอำเภอ ในส่วนของงานส่งเสริมการเกษตรที่ผ่านความเห็นชอบและอนุมัติจากนายอำเภอ ยกเว้นงานด้านการเงิน การพัสดุ และงานบริหารบุคคล

บทบาทหน้าที่ของเกษตรอำเภอ 7. ควบคุมการบริหารบุคคล ปฏิบัติตามนโยบาย คำสั่ง ควบคุมอัตรากำลัง มอบหมายสั่งการ ประเมินผล ติดตามนิเทศ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ทุกคนให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ 8. ประสานงานกับหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 9. ปฏิบัติงานอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา ตามลำดับชั้น

นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร

นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร มี 3 ระดับ

๑. ระดับชำนาญการพิเศษ ๒. ระดับชำนาญการ ๓. ระดับปฏิบัติการ

๒. นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 2.1 ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับ ด้านการปฏิบัติการ ด้านการวางแผน ด้านการประสานงาน ด้านการบริการ ระดับชำนาญการพิเศษ 1.ศึกษา วิจัย และพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร 2.ช่วยกำกับดูแลการปฏิบัติงานส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร 3.ถ่ายทอดความรู้งานด้านส่งเสริมการเกษตร วางแผนหรือร่วมดำเนินการวางแผนงานโครงการของหน่วยงาน และมอบหมายงาน แก้ปัญหาในการปฏิบัติงานและติดตามประเมินผล เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย ประสานการทำงานร่วมกันในทีมงานโดยมีบทบาทในการชี้แนะ จูงใจทีมงาน 1.เผยแพร่ให้ความรู้ความเข้าใจ ฝึกอบรม ให้คำปรึกษา 2.สร้างรูปแบบการจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ 3.พัฒนารูปแบบและวิธีการให้บริการทางการเกษตร

2.2 ระดับชำนาญการ ระดับ ด้านการปฏิบัติการ ด้านการวางแผน ด้านการประสานงาน ด้านการบริการ ระดับชำนาญการ 1.ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนางานวิชาการส่งเสริมการเกษตร 2.ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลสถานการณ์ด้านการผลิตการตลาด และศักยภาพของพื้นที่ 3.ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิต การแปรรูป 4.ศึกษาวิเคราะห์ ประเมินผลและสรุปรายงาน เสนอแนะต่องานส่งเสริมการเกษตร 5.ถ่ายทอดความรู้งานด้านส่งเสริมการเกษตร วางแผนหรือร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานตามแผนงานหรือโครงการของหน่วยงานระดับสำนักหรือกอง และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด 1.ประสานการทำงานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคำแนะนำเบื้องต้น 2.ให้ข้อคิดเห็นหรือคำแนะนำเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.เผยแพร่ให้ความรู้ความเข้าใจ ฝึกอบรม ให้คำปรึกษา แนะนำ จัดทำสื่อเผยแพร่ 2.ให้บริการข้อมูลที่เกี่ยวกับงานส่งเสริมการเกษตร เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจ

2.๓ ระดับปฏิบัติการ 2.2 ระดับปฏิบัติการ ระดับ ด้านการปฏิบัติการ ด้านการวางแผน ด้านการประสานงาน ด้านการบริการ ระดับปฏิบัติการ 1.ร่วมศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อพัฒนางานวิชาการส่งเสริมการเกษตร 2.ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ด้านการผลิต การตลาด และศักยภาพของพื้นที่ 3.ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิต การแปรรูป และภูมิปัญญาท้องถิ่น 4.ช่วยปฏิบัติงานเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาอาชีพ การถ่ายทอดความรู้ และให้บริการทางการเกษตร 5.ถ่ายทอดความรู้งานด้านส่งเสริมการเกษตร วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้ดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กำหนด 1.ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด 2.ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.ให้คำปรึกษา แนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาและจัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับงานส่งเสริมการเกษตร 2.จัดเก็บข้อมูล ประมวลผล จัดทำสถิติ รายงานหรือฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเกี่ยวกับงานส่งเสริมการเกษตร

1. ด้านการปฏิบัติการ 2. ด้านการวางแผน 3. ด้านการประสานงาน 4. ด้านการบริการ

๓. บทบาทหน้าที่ของเจ้าพนักงานการเกษตร 1.ร่วมทำการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ทดลอง ทดสอบ วิเคราะห์ ตรวจสอบ รับรองทางด้านวิชาการเกษตร 2.ให้บริการ ด้านพืช และปัจจัยการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตตามเป้าหมายและมีคุณภาพตามมาตรฐาน 3.ควบคุมและดำเนินการด้านวิชาการเกษตร 4.ร่วมวางแผน ส่งเสริมการผลิต และจัดทำโครงการสนับสนุน การผลิตของเกษตรกร ระดับอาวุโส 1.กำกับ แนะนำ ตรวจสอบ ติดตามการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา 2.ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ และแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาการเกษตร เพื่อให้มีการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ 3.ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน และสำรวจความพึงพอใจของเกษตรกรเพื่อทราบ ปัญหาและอุปสรรค ตลอดจนวิธีการแก้ไข ระดับชำนาญงาน

เจ้าพนักงานการเกษตร

เจ้าพนักงานการเกษตร ระดับ อาวุโส ระดับ ชำนาญงาน

ระดับอาวุโส ด้านการปฏิบัติการ การกำกับดูแล

ระดับชำนาญงาน ด้านการปฏิบัติงาน ด้านบริการ

3.1 ระดับอาวุโส ร่วมทำการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ทดลอง ทดสอบ วิเคราะห์ ตรวจสอบ รับรองทางด้านวิชาการเกษตร 2. ให้บริการ ด้านพืช และปัจจัยการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตตามเป้าหมาย และมีคุณภาพตามมาตรฐาน 3. ควบคุมและดำเนินการด้านวิชาการเกษตร ร่วมวางแผน ส่งเสริมการผลิต และจัดทำโครงการสนับสนุน การผลิต ของเกษตรกรระดับชำนาญงาน

3.2 ระดับชำนาญงาน กำกับ แนะนำ ตรวจสอบ ติดตามการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ระดับ รองลงมา ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ และแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา การเกษตร เพื่อให้มีการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน และสำรวจความพึงพอใจ ของเกษตรกรเพื่อทราบ ปัญหาและอุปสรรค ตลอดจนวิธีการแก้ไข

เจ้าหน้าที่ธุรการ

4. บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ธุรการ ระดับ ด้านการปฏิบัติการ ด้านการกำกับดูแล ระดับอาวุโส 1.วางแผนการปฏิบัติงาน การจัดอัตรากำลังและงบประมาณของหน่วยงานในความ รับผิดชอบ 2.มอบหมายงาน กำกับดูแล และตรวจสอบปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานพัสดุ งานบริการทั่วไป 3.จัดทำและเก็บรวบรวมข้อมูล ทะเบียนเอกสาร ทะเบียนประวัติหลักฐานเกี่ยวกับบุคลากร 4.ควบคุมจัดซื้อจัดหาการเบิกจ่ายการลงทะเบียนเกี่ยวกับพัสดุครุภัณฑ์งานยานพาหนะ งานสถานที่ 5.อำนวยความสะดวกในการประชุม สัมมนา บันทึกและรายงานการประชุม 6.พัฒนางาน ปรับปรุงระบบงานในความรับผิดชอบ 7.ประสานงานกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชน 1.ควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 2.ให้คำปรึกษาแนะนำ ตอบปัญหาหรือชี้แจงเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ เพื่อเกิดความเข้าใจและร่วมมือปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ

4. บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ธุรการ

พนักงานราชการ

พนักงานราชการ 1. ตำแหน่งนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 2. ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

๕.บทบาทหน้าที่ของพนักงานราชการ บทบาทหน้าที่ของนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร - ลักษณะงานที่ปฏิบัติ - บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล - ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน

บทบาทหน้าที่ตามภารกิจเสริม ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ

บทบาทหน้าที่ตามภารกิจเสริมของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ งานนโยบายจังหวัด งานร่วมเป็นคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ งานร่วมกับสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร งานผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ งานโครงการอำเภอยิ้ม..เคลื่อนที่ ความร่วมมือด้านการเกษตรกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานในพื้นที่