นโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐกิจ FTA Trade Barrier (NTB) Hub CM. การเมือง วิสัยทัศน์ผู้นำ นโยบายผู้ว่า CEO นโยบาย Food Safety การเมืองมีพรรคใหญ่ 2 พรรค ความโปร่งใส เผด็จการ และ.
Advertisements

ทำอย่างไรสู่ความสำเร็จใน งานศูนย์ความเป็นเลิศ ประเด็น “ การบริหารจัดการ โครงสร้าง ” ดร. พนิตนาฎ ชำนาญเสือ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี
การขับเคลื่อน ด้านการตลาดเกษตรอินทรีย์ไทย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
โรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
มอบนโยบายการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย โดย นายอาทิตย์ วุฒิคะโร
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ __________________________________________________________________________________________________________________________________________.
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0
การรับบุคคลเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
อาหารและการเกษตรไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
“พัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ ”
ความคืบหน้าการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.
สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
เดินหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่ทศวรรษที่ 8
เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย
๕ พัฒนาการของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่ง
อินเทอร์เน็ต by krupangtip
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 พ. ศ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ส่วนส่งเสริมการกระจายอำนาจ สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
โครงสร้างการทำงานภายใต้โครงการประชารัฐ
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
มอบนโยบายการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย โดย นายอาทิตย์ วุฒิคะโร
การรับสารด้วยการอ่าน
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
การผลิตก๊าซชีวภาพที่เตรียมจากทะลายปาล์มที่ผ่านการปรับสภาพ
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
2017 edition of "The World of Organic Agriculture"
แนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาค โดย ว่าที่ ร.อ.จิตร์ ศิรธรานนท์
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management.
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการ
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ข้อสรุปจากที่ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย วันพุธที่ 22 พฤษภาคม 2556

ประเด็นการนำเสนอ นโยบายรัฐบาล สถานการณ์การรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ กรอบการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

นโยบายรัฐบาล

Key word สำคัญสำหรับกำหนดโจทย์การพัฒนามหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ประเทศ Key word 1. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ศูนย์กลางการผลิตอาหารคุณภาพ (ครัวไทยสู่ครัวโลก) ความมั่นคงทางพลังงานของโลก ศูนย์กลางการให้บริการสุขภาพของอาเซียน (GMS Wellness Hub) ศูนย์กลางการผลิตพลังงานสะอาดของอาเซียน ศูนย์กลางการผลิตวัสดุชีวภาพ (Bio-material) ของอาเซียน การเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิต ภาคเกษตร อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว เมืองและป่าไม้ (เช่น การเพิ่มผลผลิตข้าวต่อปี) 2. การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ปฏิรูปการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของอุตสาหกรรมและโลก ยกระดับสถานศึกษา คุณภาพ และมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนและนำ IT มาเสริม

Key word สำคัญสำหรับกำหนดโจทย์การพัฒนามหาวิทยาลัย ที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ที่ Key word 3. การสร้างการเติมโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรม ขนส่ง ครัวเรือน สนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน ฟื้นฟูบูรณะแหล่งน้ำเดิมเพื่อการเกษตรและชลประทาน จัดการและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกครัวข้ามแดน จัดทำแผนแม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ สนับสนุนการเพิ่มศักยภาพเมืองด้านสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน (Green Community/City) นำพาประเทศไทยสู่ประชาคมอาเซียน 5 กิจกรรมหลักของ สกอ. (1) Education Hub (Organic) (2) วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ /ประชุม สัมมนาทางวิชาการ ค่ายการเรียนรู้เพื่อแลกเปลี่ยนด้านวิชาการและศิลปวัฒนธรรมเพื่อเอื้อต่อการเกิดบรรยากาศวิชาการ (3) พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน การถ่ายโอนหน่วยกิจ หลักสูตรร่วม (4) แลกเปลี่ยนนักศึกษา บุคลากร เพื่อสร้างองค์ความรู้ ประสบการณ์ ศิลปวัฒนธรรม (5) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ และภาษาอาเซียนให้กับนักศึกษา และบุคลากร

สถานการณ์การรับนักศึกษาปริญญาตรี นโยบายการรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัย สถานที่ แผน รับตรง/โควตา Admission รวมรับตรง/admission ร้อยละของแผน 60% สมัคร ผล %ผู้สมัคร 40% ประกาศรับ %ประกาศ เชียงใหม่ 3,115 1,869 8,913 1,354 15.19 1,246 2,620 1,646 62.82 3,000 96.31 แพร่ 720 432 2,266 379 16.73 288 1,800 115 6.39 494 68.61 ชุมพร 170 102 159 127 79.87 68 1,500 42 2.80 169 99.41 รวม 4,005 2,403 11,338 1860 16.41 1,602 5,920 1,803 30.46 3,663 91.46 บทวิเคราะห์: 1. หากรวมโควตาและประกาศรับแล้ว นศ.จะเกินแผน ม.ต้องเตรียมความพร้อม (1) หอพักนักศึกษาที่แพร่-ชุมพร (2) คณะที่สอนวิชาพื้นฐาน

สถานการณ์การรับนักศึกษาปริญญาตรี ประกาศ Admission ปี 2556

สถานการณ์การรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยตั้งใหม่ บทวิเคราะห์: ต้นน้ำของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ http://www.panyapiwat.ac.th/index.php/education-center/education-center /

สถานการณ์การรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยตั้งใหม่ บทวิเคราะห์: 1. มหาวิทยาลัย http://www.pim.ac.th/

สถานการณ์การรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยตั้งใหม่ http://www.nation.ac.th/

สถานการณ์การรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยตั้งใหม่ ปตท.ตั้งเป้า 3 ปีผุดมหาวิทยาลัยด้านการวิจัยและเทคโนโลยีชั้นนำของประเทศที่เมืองระยอง บนพื้นที่ของไออาร์พีซีกว่า 200 ไร่ คาดใช้เงินลงทุนด้านวิจัยปีละ 2,150 ล้านบาทต่อปีคาด 5 ปีใช้เงิน 10,750 ล้าน เล็งเปิดรับนักศึกษารุ่นแรกภายใน 3 ปี หวังเรียนแบบเกาหลีใต้สร้างนักวิจัยดึงรายได้ประชากรทั้งประเทศขึ้นแบบก้าวกระโดด ชื่อ “สถาบันเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ระยอง” โดยเป้าหมายหลักเพื่อให้เป็นมหาวิทยาลัยด้านการวิจัยและวิทยาศาสตร์ชั้นนำของประเทศไทย ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดทำหลักสูตรเงื่อนไขการรับนักศึกษา คาดว่าภายใน 3 ปีจากนี้จะสามารถเปิดรับนักศึกษารุ่นแรกได้ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยดังกล่าวจะเน้นการสร้างานวิจัยและพัฒนาเพื่อให้เกิดเป็นทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสำคัญ ซึ่งจะมีการลงทุนห้องปฏิบัติการที่ทันสมัย มีสัดส่วนอาจารย์ 1 คนต่อนักศึกษา 6 คน และนักศึกษาที่จบไม่จำเป็นต้องทำงานให้กับในเครือ ปตท.เท่านั้น เนื่องจาก ปตท.ต้องการผลิตนักศึกษาด้านวิจัยดังกล่าวป้อนสู่ตลาด ปัจจุบันสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) กำหนดให้บริษัทต่างๆ แบ่งเงินลงทุน 3% ไปในการวิจัยและพัฒนา ดังนั้น ตลอดปี 2555-2559 ปตท.จะแบ่งเงินเพื่อการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งการจัดตั้งมหาวิทยาลัยดังกล่าวประมาณ 2,150 ล้านบาทต่อปี และคาดว่าใน 5 ปีต้องใช้เงินเพื่อการพัฒนาวิจัยประมาณ 10,750 ล้านบาท สำหรับแนวคิดการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยและพัฒนาดังกล่าวเกิดจากรูปแบบการพัฒนาประเทศของเกาหลีใต้ โดยเมื่อ 20 ปีที่ผ่านมาเกาหลีใต้ได้ปฏิรูปอุตสาหกรรมไปสู่การใช้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ผ่านโครงการวิจัยและพัฒนาระดับเข้มข้น พร้อมปฏิรูปการศึกษาทั่วประเทศ โดยเน้นการศึกษาวิทยาศาสตร์ โดยผลที่ออกมาพบว่าจากปี 2506 ประชาชนเกาหลีใต้มีรายได้ต่อหัว 87 เหรียญสหรัฐต่อคนต่อปี ขณะที่ไทยมีรายได้ต่อหัว 320 เหรียญสหรัฐต่อคนต่อปี แต่เมื่อผ่านไป 30 ปี กลับพบว่าคนเกาหลีใต้มีรายได้เพิ่มขึ้นแบบก้าวกระโดดเป็น 16,500 เหรียญสหรัฐต่อคนต่อปี ขณะที่ไทยเพิ่มขึ้นเพียง 2,000 เหรียญสหรัฐต่อคนต่อปี นายไพรินทร์ กล่าวว่า การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันนวัตกรรมของ World economic forum พบว่าไทยอยู่อันดับ 57 จาก 142 ประเทศทั่วโลก หรือมีนักวิจัยเพียง 3 คนต่อประชากร 1 หมื่นคน โดยในอาเซียนไทยอยู่ดับอับ 4 รองจากสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ขณะที่เวียดนามและบรูไนกำลังเร่งไต่อันดับขึ้นมา

สถานการณ์การรับนักศึกษาปริญญาตรี ความเคลื่อนไหวการปรับหลักสูตร

กรอบการขับเคลื่อน AC 2557 1. จัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา (Area base หรือ Function base หรือว่าด้วยองค์กรอาเซียน) สร้างเครือข่ายความร่วมมือ แหล่งเรียนรู้ของภูมิภาคแก่ภาคเอกชน (รวมทั้งเป็นศูนย์กลางทางด้านบริหาร (สาธารณสุข) บนศักยภาพความพร้อม) 2. วิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และความเข้มแข็งทางวิชาการ จัดประชุม อบรมสัมมนาทางวิชาการ รวมทั้งจัดค่ายการเรียนรู้เพื่อนำไปสู่การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นด้านต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิงแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม เพื่อสร้างบรรยากาศทางวิชาการทั้งในประเทศและกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน และเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 3. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ การถ่ายโอนหน่วยกิต การจัดทำมาตรฐานการศึกษา การประเมินผลที่รองรับการเป็นศูนย์กลางทางด้านการศึกษาในภูมิภาคอาเซียน 4.แลกเปลี่ยนนิสิตนักศึกษาและถ่ายโอนหน่วยกิต การแลกเปลี่ยนอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ องค์ความรู้ ศิลปวัฒนธรรม 5.พัฒนาทักษะด้านภาษา (ภาษาอังกฤษ และภาษากลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน) รวมทั้งความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนแก่นิสิตนักศึกษา บุคลากรภาครัฐ และบุคคลทั่วไปเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน

กรอบการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Organic U. Green U. E-co U. แผนยุทธศาสตร์ ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย ด้านบริการวิชาการ ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม แผนปฏิบัติราชการประจำปี มหาวิทยาลัย คณะ/สำนัก

แม่โจ้ : มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต Maejo flagships to 2026 แม่โจ้ : มหาวิทยาลัยแห่งชีวิต สังคมเกษตรอินทรีย์ สังคมสีเขียว สังคมเชิงนิเวศ

เตรียมความพร้อมสู่ AC ด้านหลักสูตร บุคลากร นักศึกษา โครงสร้างพื้นฐาน ECO. UNIVERSITY - จัดทำผังแม่บท เข้าสู่การจัดอันดับ ธนาคารขยะ มาตรการพลังงาน หน่วยงานต้นแบบ พื้นที่ต้นแบบ (17 ไร่/35 ไร่/ 907 ไร่/206 ไร่ ) Green University Organic University เตรียมความพร้อมสู่ AC ด้านหลักสูตร บุคลากร นักศึกษา โครงสร้างพื้นฐาน

“เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ ที่มีความเป็นเลิศทางการเกษตรในระดับนานาชาติ” Organic U. Green U. Eco U. Flagship ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการพัฒนานักศึกษา ด้านการวิจัย ด้านบริการวิชาการ ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้านบริหารจัดการ การผลิตบัณฑิตที่เป็นนักปฏิบัติ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชา และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล บัณฑิตมีคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ เก่ง ดี และมีความสุข ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและนวัตกรรม การบูรณาการองค์ความรู้ที่เพิ่มศักยภาพและขีดสมรรถนะของชุมชน การดำรงศิลปวัฒนธรรมและรักษาระบบนิเวศของทรัพยากรธรรมชาติ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล พันธกิจ นโยบาย 9 ด้าน วิชาการ ต่างประเท วิจัยและนวัตกรรม ชุมชนสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศ นักศึกษาและศิษย์เก่า โครงการพระราชดำริ พัฒนาบุคลากร ทรัพย์สิน ประเด็นยุทธศาสตร์ มีหลักสูตรที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการพัฒนาคณาจารย์และนวัตกรรมการเรียนการสอน มีปัจจัยสนับสนุนที่เอื้อต่อ การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ นักศึกษาและศิษย์เก่ามีศักยภาพและทักษะในการดำเนินชีวิต ตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ นักวิจัยมืออาชีพและเป็นที่ยอมรับ ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพและเกิดประโยชน์ ในระดับชาติและนานาชาติ มีระบบการบริหารงานวิจัยและปัจจัยสนับสนุนที่มีประสิทธิภาพ เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกระดับ เป็นมหาวิทยาลัยที่สนองงานโครงการในพระราชดำริ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านวัฒนธรรม เกษตรล้านนา ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บุคลากรมีความสามัคคี และทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป้า ประสงค์

นำเสนอที่ประชุม เพื่อทราบ เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ประเทศเข้าสู่ภารกิจประจำ โดยการ - ทบทวนหลักสูตรให้สอดคล้อง - ปรับยุทธศาสตร์การวิจัย - กำหนดโจทย์การบริการวิชาการให้สอดคล้อง