กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
Advertisements

งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR
TBCM Online.
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ปีงบประมาณ 2556 งบการดูแลผู้ป่วยรายโรค การเข้าถึงยา
โรคที่เป็นปัญหา ของพื้นที่
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
TB HIV ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขยายผลแนวทาง การให้บริการ IPT
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
ก้าวสู่ปีที่ 10 จาก การรณรงค์ป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มMSM สู่การ ยอมรับ เข้าใจ ไม่มีการติดเชื้อใหม่ใน MSM/TG ดนัย ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย.
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การบริหารและขับเคลื่อน
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ)

นโยบายกระทรวง/ตรวจราชการ EOC/SAT TB พยาธิใบไม้ตับ นโยบายจังหวัด/โรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ ไข้เลือดออก/ซิกา EPI/โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน มือเท้าปาก ไข้หวัดใหญ่ อาหารเป็นพิษ เอดส์/STI มาลาเรีย หนอนพยาธิ ฯลฯ

เพื่อเตรียมพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข EOC/SAT ตัวชี้วัด : จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง EOC สถานที่ อุปกรณ์ IT และ การสื่อสาร คน/staff SAT ทีม/บุคคลากร การรับข้อมูล/เหตุการณ์และตรวจจับความผิดปกติ วิเคราะห์สถานการณ์ เสนอผู้บริหาร/เปิด EOC เพื่อเตรียมพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

PERT : ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ EOC และทีม SAT ที่ปฏิบัติงานได้จริง ตค.-ธค. 59 มค.-มีค. 60 เมย.-มิย. 60 กค.-กย. 60 ผู้ที่เกี่ยวข้องประชุมเทบทวนโครงสร้าง มีการซ้อมแผน ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีแผนซ้อม ประชุมเชิงปฏิบัติการ มี SOP ของ กก. แต่ละส่วน ประเมิน ความพร้อม และส่วนขาด มีความพร้อม คน เงิน ของ lab IC เครื่องมือสื่อสาร ประชุมจัดทำแผนซ้อม ใช้แนวทางตามแผน จัดทำ SOP ประเมิน GOAL จังหวัดมี EOC และ SAT ที่มี ประสิทธิภาพ สภาพปัญหา/ ตัวชี้วัด กระทรวง มีแผนตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข มีความพร้อม ในการสื่อสาร ความเสี่ยง มีโครงสร้างกก. EOC รองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข จัดทำแผน จัดหาสื่อ ช่องทาง/คน ผู้ที่เกี่ยว ข้องประชุมเทบทวนโครงสร้าง ประเมินมาตรฐานตามเกณฑ์ ประชุมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาเครือข่าย เครือข่าย SRRT/SAT จังหวัด/อำเภอ มีศักยภาพ มีฐานข้อมูล ระบบรายงานที่ ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา มีผลประเมิน มาตรฐาน SRRT และ SAT ประชุมเชิงปฏิบัติการควบคุมป้องกันโรค GAP GAP มีระบบการป้องกันควบคุมโรคจังหวัด/อำเภอ ที่มีปะสิทธิภาพ นิเทศ/ประเมิน GAP

การดำเนินงานเตรียมพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในระดับอำเภอ/ตำบล (Regulator) มีโครงสร้าง ICS ระดับอำเภอ เพื่อการตอบโต้โรคและภัยสุขภาพที่เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข มี SOP/IAP ตามโครงสร้าง ICS มีแผนปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขอย่างน้อย 1 เรื่อง มีการซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขโดยใช้โครงสร้าง ICS ทีม SRRT ระดับอำเภอ ผ่านมาตรฐาน SRRT และ รพ.สต. ผ่านมาตรฐาน SRRT ตำบลอย่างน้อย 2 แห่ง รพ.มีห้องแยกพร้อมรับผู้ป่วยโรคติดเชื้อตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างน้อย 1 ห้อง มีความพร้อมในการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (VTM,Carry bair ฯลฯ) การรายงานโรคและเหตุการณ์สำคัญได้ภายใน 24 ชั่วโมง

แนวทางแก้ไขปัญหาวัณโรคเชียงใหม่ ปัญหา : 1. การค้นหาคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงวัณโรคและนำมารักษาต่ำกว่าเป้าหมาย 2. การรักษาวัณโรค มีผลสำเร็จของการรักษาต่ำกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 ( เกณฑ์ ร้อยละ 85) 3. พบผู้ป่วยวัณโรคดื้อยารักษาวัณโรค ทุกปี มากกว่า 15 ราย แนวทางแก้ไขปัญหาวัณโรคเชียงใหม่ การเร่งรัดการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงวัณโรคให้ตรวจพบโดยเร็ว และใช้การ ตรวจ CRX AFB ให้มากขึ้น การพัฒนาการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรค เพื่อลดการเสียชีวิต และการขาดยา การพัฒนาการบริหารจัดการ การกำกับติดตาม และการประเมินผล พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในงานวัณโรค โดยการขยายเครือข่ายพื้นที่ ต้นแบบ

การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรควัณโรคในระดับอำเภอ/ตำบล การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคให้พบโดยเร็ว ในกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ เรือนจำ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน HIV/AIDS เบาหวาน แรงงานต่างด้าว สูงอายุติดบ้านติดเตียง มาตรการการดูแลรักษา ได้แก่ การ admit ผู้ป่วยรายใหม่ 2 สัปดาห์แรก การ DOT โดย FCT หรือ จนท. รพ.สต. การใช้ CPG ในการรักษา TB มาตรการการบริหารจัดการ ได้แก่ แต่งตั้งคณะกรรมการ TB อำเภอและประชุมติดตามงานทุก 3 เดือน รวมทั้งรายงานปัญหาและความก้าวหน้าในการดำเนินงานในที่ประชุม คพสอ.ทุกเดือน มาตรการการมีส่วนร่วมของชุมชนในงานวัณโรค ได้แก่ แต่งตั้งคณะกรรมการวัณโรคภาคประชาชนระดับอำเภอและประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายงานวัณโรคภาคประชาชน รวมถึง การจัดเวทีชุมชนเพื่อทำแผนและคัดเลือกคณะทำงานวัณโรคภาคประชาชน TBCM Model จัดเวทีสื่อสารสองทางเรื่อง TB และคัดกรองวัณโรคด้วยความสมัครใจอำเภอ/ตำบล จัดทำระบบการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลผู้ป่วยวัณโรคระหว่างสถานบริการและเครือข่ายงานวัณโรคภาคประชาชนในพื้นที่

เมื่อวันที่ 21 มิ. ย. 2559 คณะรัฐมนตรี (ครม เมื่อวันที่ 21 มิ.ย. 2559 คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติอนุมัติแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ปี 2559 – 2568 เฉพาะเขตสุขภาพ ที่ 1, 6 ,7, 8, 9 และ 10 ภาคเหนือ จำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ลำปาง แม่ฮ่องสอน น่าน พะเยา เชียงราย พยาธิใบไม้ตับ จังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2559 (คัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไปเป้าหมายตำบลละ 905 ราย) มีพื้นที่ดำเนินการ ได้แก่ 1.ตำบลสองแคว อ.ดอยหล่อ ดำเนินการได้ 890 รายคิดเป็นร้อยละ 98.34 2.ตำบลโหล่งขอด อ.พร้าว ดำเนินการได้ 844 รายคิดเป็นร้อยละ 93.26 3.ตำบลเชียงดาว อ.เชียงดาว ดำเนินการได้ 1,113 ราย คิดเป็นร้อยละ122.98 - ตรวจพบไข่พยาธิ(รวม) 738 รายคิดเป็นร้อยละ 25.92 (พยาธิใบไม้ตับจำนวน 705 ราย) - ให้ยารักษาพยาธิใบไม้ตับจำนวน 705 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 โดยส่วนกลางจะขยายพื้นที่ดำเนินการ เพิ่ม เป็น 6,32 และ 72 ตำบล ในปี 2560,2561 และ 2562

พยาธิใบไม้ตับ เป้าหมายปี 2560 เพิ่ม 3 อำเภอ 3 ตำบล ได้แก่ ตำบล ท่าวังพร้าว อำเภอ สันป่าตอง ตำบล แม่หอพระ อำเภอ แม่แตง ตำบล บ้านแปะ อำเภอ จองทอง พยาธิใบไม้ตับ กิจกรรมหลัก 1. คัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป 2. ติดตามผู้ติดเชื้อพยาธิใบไมตับให้ได้รับการรักษา และติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. ติดตามผลการติดเชื้อซ้ำ ของปี 2559 และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน 4. ลงทะเบียนข้อมูลในโปรแกรม Isan-cohort 5. จัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมให้เกิดรูปธรรม และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในพื้นที่ 6. การจัดการเรียนการสอนฯในโรงเรียน 7. ตำบลต้นแบบจัดการสุขภาพแบบครบวงจร ต.โหล่งขอด อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ /พัฒนานวัตกรรมฯ /Best Practice

อัตราป่วยไข้เลือดออก ลดลงร้อยละ 16 จากค่ามัธยฐาน 5 ปี (2555-2559) ไข้เลือดออก/ซิกา ตัวชี้วัด : 1. ค่า HI ในชุมชนโดยการสุ่มของเจ้าหน้าที่ ไม่เกิน 10 2. ค่า CI ในวัด โรงเรียน สถานที่ราชการ เป็น 0 3. ไม่เกิด 2nd generation ในระดับหมู่บ้าน เป้าหมาย อัตราป่วยไข้เลือดออก ลดลงร้อยละ 16 จากค่ามัธยฐาน 5 ปี (2555-2559)

ทุกอำเภอจัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก/ซิกา การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก/ซิกาในระดับอำเภอ/ตำบล ตำบลมีแผนการป้องกันควบคุมโรคตามมาตรการ 6 สีรายหมู่บ้าน เปิด EOC ทำ warroom และใช้มาตรการซิกาในพื้นที่ไข้เลือดออกระบาด จนกว่าโรคจะสงบ ทีมอำเภอมีการลงสุ่มตำบลอย่างสม่ำเสมอ โดยจัดทีม SRRTทั้งอำเภอมาร่วม รพ.สต. บันทึกข้อมูล HI CI รายหมู่บ้านทุกสัปดาห์ โดยอำเภอติดตามควบคุมกำกับ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์การควบคุมโรคให้พร้อมใช้ ได้แก่ เครื่องพ่น ULV และ น้ำยาพ่น ทรายทีมีฟอส สเปรย์กระป๋อง สารทากันยุง งบประมาณค่าอาหาร ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าจ้างคนพ่น ฯลฯ ทุกอำเภอจัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก/ซิกา

โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน/EPI จำนวนผู้ป่วย อำเภอที่พบผู้ป่วย JE 5 เมือง ดอยสะเก็ด แม่อาย สันกำแพง ไชยปราการ Measle 36 15 อำเภอ ผลการสุ่มความครอบคลุมปี2558 อ.แม่แจ่ม 100%ทุกตัว อ.เมือง 100%ยกเว้น OPV4 95.83% ปี 2559 อ.เชียงดาว DTP,OPV3 66.67% MMR 70% อำเภอที่ความครอบคลุมวัคซีนหัด<95% 12 อำเภอ : เมือง เชียงดาว สะเมิง ดอยสะเก็ด ฝาง แม่อาย สันป่าตอง สันทราย หางดง ฮอด ดอยเต่า อมก๋อย เป้าหมาย Coverage วัคซีนหัดไม่ต่ำกว่า 95% Coverage วัคซีน JE1,2 ไม่ต่ำกว่า 90%

การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในระดับอำเภอ/ตำบล จัดตั้งทีมนิเทศงาน EPI ระดับอำเภอ และนิเทศประเมินมาตรฐานงาน EPI ในโรงพยาบาลและ รพ.สต. มีแผนให้บริการเชิงรุกในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายที่เข้าไม่ถึงระบบบริการสาธารณสุข ดำเนินงานมาตรฐานงาน EPI โดยเน้นตรวจสอบข้อมูล HDC และ หาทางร่วมกันแก้ไขในพื้นที่

ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกัน Promotion & Prevention Excellence แผนที่ 2. การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โครงการควบคุมโรคติดต่อ ตัวชี้วัดระดับจังหวัด ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกัน โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก > ร้อยละ 85

สถานการณ์ อัตราการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มประชากรหลักยังสูง ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) 14 % ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด (PWID) 16 % พนักงานบริการหญิง 3.85 % ร้อยละของผู้ติดเชื้อที่มีค่า CD4 แรกรับ < 200 cell ปี 2558 ร้อยละ 60, ปี 2559 ร้อยละ 47 ร้อยละการเสียชีวิตภายใน 1 ปี หลังการรับยาต้านไวรัส ปี 2558 ร้อยละ 5.77, ปี 2559 ร้อยละ 3.67

GAP ความครอบคลุมการได้รับชุดบริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ของกลุ่มประชากรหลักยังต่ำ (ชายรักชาย, ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด, พนักงานบริการ, แรงงานข้ามชาติ, ผู้ต้องขัง) กลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่เข้าถึงยาก ความครอบคลุมการได้รับบริการปรึกษาและตรวจเลือดหาการติดเชื้อ HIV ของกลุ่มประชากรหลักยังต่ำ ประชาชนไปรับบริการปรึกษาและตรวจเลือดหาการติดเชื้อ HIV ใน รพ.สต. น้อย ผู้ติดเชื้อ HIV เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา ช้า (CD4 แรกรับ < 200 cell ปี 2558 ร้อยละ 60, ปี 2559 ร้อยละ 47 ) ผู้ติดเชื้อ HIV ยังมีอัตราการเสียชีวิตสูง (ร้อยละ 5.77 ในปี 2558 ร้อยละ 3.67 ในปี 2559

ประเด็นที่นิเทศ กำกับ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงาน ที่เกี่ยวข้อง RB 5 : ระบบควบคุมโรค KPI/PA/ปัญหา ประเด็นที่นิเทศ กำกับ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงาน ที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาระบบบริการเชิงรุก ในการยุติปัญหาเอดส์ การบริหารจัดการ (คณะทำงาน, แผนงานโครงการ) การจัดบริการ VCT (ในรพ.สต., แบบทราบผลใน 1 วัน, เชิงรุก, เน้นกลุ่ม KAP) มาตรการ R-R-T-T-R โปรแกรม NAP โปรแกรม RIHIS

โรคติดต่ออื่นๆ โรค อำเภอ 10 อันดับ กิจกรรม มือเท้าปาก เมือง,สันทราย,แม่ริม,สันกำแพง,จอมทอง,แม่อาย,สันป่าตอง,สารภี,ฝาง,เชียงดาว -ประเมินศูนย์เด็กเล็กปลอดโรคและพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์ -ออกตรวจแนะนำในช่วงที่มีการระบาด -จัดอบรมครูพี่เลี้ยงศูนย์เด็ก โรคอาหารเป็นพิษ สะเมิง,หางดง,สารภี,ดอยเต่า,แม่อาย, ดอยหล่อ,สันทราย, สันกำแพง,พร้าว,เมือง -วิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง -จัดประชุม/อบรมผู้ประกอบการ -ตรวจแนะนำสถานประกอบการ -สื่อสารประชาสัมพันธ์ สุขศึกษาแก่ประชาชน -เฝ้าระวังอาหารและน้ำโดยสุ่มตรวจหาเชื้อหรือ ตรวจ SI2 -เตรียมทีม SRRT ในการสอบสวนควบคุมโรค

โรคติดต่ออื่นๆ โรค อำเภอ 10 อันดับ กิจกรรม ไข้หวัดใหญ่ เมือง,สันทราย, ดอยสะเก็ด,สันกำแพง,แม่ริม,สารภี, สันป่าตอง,แม่อาย,พร้าว -รพ.มีระบบเฝ้าระวัง ILI วิเคราะห์และแจ้งเตือนได้ทันเวลา -รพ.มีแนวทางการเฝ้าระวังและดูแลรักษาโรคไข้หวัดใหญ่และโรคอุบัติใหม่ -สื่อสารความเสี่ยงแก่ประชาชน -ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง -สอบสวนควบคุมโรคกรณีเกิดการระบาด -สำรองยาและเวชภัณฑ์ให้พอเพียง -มีการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาลอย่างเคร่งครัด

โรคติดต่ออื่นๆ โรค อำเภอ 10 อันดับ กิจกรรม มาลาเรีย ไชยปราการ,แม่อาย,ฝาง,เชียงดาว,อมก๋อย,เวียงแหง,สันทราย,เมือง,แม่แตง,แม่ริม -เฝ้าระวังคัดกรองใน รพ และ รพ.สต. สสจ.สนับสนุน RDT -สอบสวนควบคุมโรคทุกราย(มาตรการ 1-3-7=รายงาน-ควบคุม-สอบสวน) -รณรงค์ในพื้นที่เสี่ยง(ให้ความรู้ แจกมุ้ง สารทา ฯ หนอนพยาธิ อำเภอที่อยู่ในโครงการ มี 11 อำเภอ ได้แก่ แม่แจ่ม,เชียงดาว, แม่แตง,สะเมิง, ฝาง, แม่อาย,พร้าว,อมก๋อย,เวียงแหง,แม่วาง,กัลยาฯ ตรวจอุจจาระนักเรียนในเทอมที่1 และ ทำการรักษาตามเกณฑ์ และรายงานผลให้ สสจ.

สวัสดี