แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
Advertisements

การพิจารณาเลือกชนิด วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค นพ.พรศักดิ์ อยู่เจริญ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค.
VMI (Vendor Managed Inventory)
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
การตั้งค่าวัคซีน.
“การขยายโรงงานผลิตวัคซีนวัณโรค สู่มาตรฐานสากล”
นโยบายการดำเนินงาน สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน
การจัดทำรายงาน โครงการนำร่องการให้บริการ วัคซีน LAJE ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน พอพิศ วรินทร์เสถียร กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนฯ สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
Live Attenuated JE Vaccine
การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
การเพิ่มวัคซีน MR ในเด็ก 2 ปีครึ่ง
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
วัคซีนป้องกันโรคหัด.
การประชุมบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 2/2556 วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ. ศ ณ ห้องประชุมทางไกล SC1218 และ SC216.
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
หน่วยงาน ( ชื่อหน่วยงาน......) ประเมินผลการดำเนินงานประจำปี 2556.
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
ความเป็นมาของโครงการนำร่องวัคซีน JE ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ SA
Direction of EPI vaccine in AEC era
ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์, Power System Design, EE&CPE, NU
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
II-9 การทำงานกับชุมชน.
ณ ห้องประชุม 6/5 รพ.นครพิงค์
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
27 ปี งานกวาดล้างโปลิโอ รณรงค์ OPV ประจำปี
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
แนวทางการบริหารจัดการวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อน ฤทธิ์ สายพันธุ์ SA Lived Attenuated Japanese Encephalitis SA
การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การปรับรหัสวัคซีนในงาน EPI
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
Medication Reconciliation
แบบมาตรฐานระบบบำบัดน้ำเสียแบบได้ก๊าซชีวภาพ สำหรับฟาร์มสุกร
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
การบริหารระบบลูกโซ่ความเย็น ในระบบยา
การบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ และระบบลูกโซ่ความเย็น
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA
แนวทางปฏิบัติด้านการเงินของ ศบท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
แนวทางการให้บริการ วัคซีน DTP-HB-Hib ปีงบประมาณ 2562
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
JHCIS สำหรับงาน EPI ตามมาตรฐานใหม่ 1 ตุลาคม 2558
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน โรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (LAJE) เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ข้าราชการบำนาญ กรมควบคุมโรค

Beijing strain ขนาด 0.5 มล. ขนาด 5 มล. Nakayama strain ขนาด 1 มล.

วัคซีน JE ที่สนับสนุน สายพันธุ์ ขนาดที่ใช้ เบจิง (Beijing) ผงแห้ง น้ำ เด็กอายุ < 3 ปี ฉีด S ครั้งละ 0.25 มล. เด็กอายุ > 3 ปี ฉีด S ครั้งละ 0.5 มล. นากายามา (Nakayama) น้ำ เด็กอายุ < 3 ปี ฉีด S ครั้งละ 0.5 มล. เด็กอายุ > 3 ปี ฉีด S ครั้งละ 1.0 มล.

CD.JEVAC วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี เชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ ศ.นพ. หยู เป็นผู้พัฒนาวัคซีน ใช้ในจีนตั้งแต่ ค.ศ. 1988 (ได้รับรางวัลเจ้าฟ้ามหิดล ปี 2552) เป็นวัคซีนชนิด cell culture ตัวแรกที่ผลิตจากเชื้อไวรัส เจอี สายพันธุ์ SA14-14-2 เพาะเลี้ยงใน primary hamster kidney cell วัคซีนเป็นผงแห้ง มี water for injection 0.5 ml อายุของยา 18 เดือน ให้วัคซีนในเด็กอายุ 9 เดือน และฉีดกระตุ้นหลังจากฉีดเข็มแรกไปแล้ว 3-12 เดือน (ขนาด 0.5 ml : Sc) ราคา 350-390 บาท/โด๊ส

ประวัติการได้รับวัคซีน LAJEในอดีต การให้ JE เชื้อตาย ครั้งถัดไป การได้รับวัคซีน JE : เมื่อเด็กได้รับวัคซีน LAJE เชื้อเป็นในอดีต แล้วมาต่อด้วย JE เชื้อตาย ประวัติการได้รับวัคซีน LAJEในอดีต การให้ JE เชื้อตาย ครั้งถัดไป การให้วัคซีน JE 1 JE 2 JE 3 เคยได้รับ 1 ครั้ง 1ครั้ง วันที่ได้รับ (เชื้อเป็น) ไม่ต้องให้ (เชื้อตาย) เคยได้รับ 2 ครั้ง

CD.JEVAX® has been introduced for EPI in 29 Provinces Since 2013 เขตบริการสุขภาพที่ 1: 8 จังหวัด เชียงใหม่, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน, ลำปาง, ลำพูน, น่าน, แพร่, พะเยา เขตบริการสุขภาพที่ 2: 5 จังหวัด พิษณุโลก, อุตรดิตถ์, เพชรบูรณ์, ตาก, สุโขทัย เขตบริการสุขภาพที่ 5: 8 จังหวัด ราชบุรี, สุพรรณบุรี, กาญจนบุรี, นครปฐม, เพชรบุรี, สมุทรสาคร, สมุทรสงคราม, ประจวบคีรีขันธ์ เขตบริการสุขภาพที่ 6: 8 จังหวัด ชลบุรี, สมุทรปราการ, ฉะเชิงเทรา, ปราจีนบุรี, สระแก้ว, ระยอง, จันทบุรี, ตราด สคร.10 2556 สคร.9 2558 สคร.4 สคร.3 2558 2558

1 พฤษภาคม 2559 เริ่มให้ LAJE 48 จังหวัด การให้วัคซีนโรคไข้สมองอักเสบเจอี เชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (LAJE) ปี 2556 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน ปี 2558 21 จังหวัด เขตบริการสุขภาพ 2,5,6 1 พฤษภาคม 2559 เริ่มให้ LAJE 48 จังหวัด เขตบริการสุขภาพ 3,4,7-12 ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 สธ. กำหนดให้มีการฉีดวัคซีนเจอีเชื้อตาย ในเด็กอายุ 1 ปีครึ่ง 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน และกระตุ้นอีก 1 ครั้ง เมื่ออายุ 2 ปีครึ่ง ปี 2558 ต่อมาคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีมติให้ปรับอายุการให้วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีครั้งแรกจาก 1 ปีครึ่ง เป็น 1 ปี เพื่อบูรณาการให้เด็กมารับวัคซีนพร้อมการตรวจสุขภาพและพัฒนาการของเด็ก ปัจจุบันมีวัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ สายพันธุ์ SA 14-14-2 ใช้กันอย่างแพร่หลาย ปี 2555 จึงมีการนำร่องการใช้วัคซีน LAJE ในพื้นที่จังหวัดภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน และพะเยา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีโรคนี้ชุกชุม ต่อมาในปี 2558 ได้ขยายพื้นที่การให้บริการวัคซีน LAJE ครอบคลุมทุกจังหวัดที่อยู่ในเขตบริการสุขภาพที่ 2, 5 และ 6 รวมทั้งสิ้นจำนวน 21 จังหวัด และในปี 2559 กรมควบคุมโรคและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงได้ดำเนินการขยายพื้นที่การให้บริการวัคซีน LAJE ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครอบคลุมทั้งประเทศ โดยเพิ่มการให้บริการในเขตบริการสุขภาพที่ 3, 4 และ 7-12

ให้ LAJE แก่เด็กอายุครบ 1 ปี (เกิดตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2558) กลุ่มเป้าหมาย ให้ LAJE แก่เด็กอายุครบ 1 ปี (เกิดตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2558) เข็มที่ 1 เด็กอายุ 1 ปี เข็มที่ 2 เด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน (พร้อม MMR เข็มที่ 2)

ประวัติการได้รับวัคซีน เชื้อตายในอดีต การให้ LAJE ครั้งถัดไป การได้รับวัคซีน JE : เมื่อเด็กได้รับวัคซีน JE เชื้อตายในอดีต แล้วมาต่อด้วย LAJE ประวัติการได้รับวัคซีน เชื้อตายในอดีต การให้ LAJE ครั้งถัดไป การให้วัคซีน JE 1 JE 2 JE 3 เคยได้รับ 1 ครั้ง 2 ครั้ง วันที่ได้รับ (เชื้อตาย) (เชื้อเป็น) เคยได้รับ 2 ครั้ง 1 ครั้ง เคยได้รับ 3 ครั้ง ไม่ต้องให้

การให้ LAJE แก่เด็กอายุเกิน 1 ปี สรุป เคยได้รับเชื้อตายมา 1 ให้ LAJE 2 เข็ม เคยได้รับเชื้อตายมา 2 ให้ LAJE 1 เข็ม

วิธีการให้ ขนาดที่ใช้ และการเก็บรักษา LAJE ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง (Sc) ขนาดที่ใช้ ครั้งละ 0.5 มล. เก็บที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส

การคาดประมาณกลุ่มเป้าหมาย หน่วยบริการ : คาดประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการจาก 1. รายชื่อเด็กที่นัด ทั้งที่อยู่ใน+นอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2. เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา 3. เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณ ปริมาณวัคซีน ที่ต้องใช้ทั้งหมด การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน ให้เจ้าหน้าที่ประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการในแต่ละครั้งจาก รายชื่อเด็กที่นัดทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณปริมาณวัคซีน IPV และ OPV ที่ต้องใช้ทั้งหมด แล้วประมาณการวัคซีนตามที่กล่าวในหัวข้อ “แนวทางการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น”

อัตราสูญเสียวัคซีน LAJE ชนิด single dose อัตราสูญเสียร้อยละ 1 จำนวน LAJE ที่ใช้ (dose) = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.01 LAJE ชนิด 4 dose/ขวด อัตราสูญเสียร้อยละ 20 จำนวน LAJE ที่ใช้ (dose) = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.25

การเบิกวัคซีน ใช้แบบฟอร์ม ว. 3/1 กรอกข้อมูล เป้าหมาย ยอดคงเหลือยกมา จำนวนผู้รับบริการ จำนวนขวดวัคซีนที่เปิดใช้ √ √ √ √ โปรแกรมจะคำนวณอัตโนมัติ จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ (ขวด) จำนวนวัคซีนที่ขอเบิก (ขวด) อัตราสูญเสียร้อยละ

การเบิกวัคซีน หน่วยบริการ สสอ. ฝ่ายเภสัชกรรม รพ. ส่งใบเบิก ส่งใบเบิก ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง ตรวจสอบความสอดคล้องของการเบิกให้สัมพันธ์กับจำนวนเด็กที่ให้บริการจริง

การจัดส่ง LAJE ครั้งแรก 1 – 14 ของทุกเดือน จัดส่งโดย GPO(ระบบ VMI) 15 – 31 ของทุกเดือน จำนวนวัคซีน LAJE ที่จัดส่ง ใน 3 เดือนแรก GPO จะใช้ค่า ROP และ Max Limit ของวัคซีน JE เชื้อตายเดิม ถ้าค่า ROP สูงเกิน แจ้ง สปสช. (02-143-9730)

การจัดทำรายงานผลปฏิบัติงาน บันทึกข้อมูลในฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ฉีด LAJE ครั้งที่ 1 click ไปที่ “JE 1 : Lived attenuated” รหัสวัคซีน J11 ฉีด LAJE ครั้งที่ 2 click ไปที่ “JE 2 : Lived attenuated” รหัสวัคซีน J12 JHCIS และ HOSxP ได้เพิ่มช่องวัคซีน LAJE ในรายงานการให้บริการวัคซีนแล้ว

การจัดทำรายงานผลปฏิบัติงาน LAJE

การจัดทำรายงานผลปฏิบัติงาน LAJE 1 และ 2

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน โปรแกรม Hos-xP JE1 JE2 JE3 JL1 JL2

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน โปรแกรม JHCIS JE1 JE2 JE3 LJE 1 LJE2

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กอายุครบ 2 ปี = จำนวนเด็กอายุครบ 2 ปี ในพื้นที่ที่ได้รับวัคซีนเจอีครบตามเกณฑ์ x 100 จำนวนเด็กอายุครบ 2 ปี ทั้งหมดในพื้นที่รับผิดชอบ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กอายุครบ 3 ปี = จำนวนเด็กอายุครบ 3 ปี ในพื้นที่ที่ได้รับวัคซีนเจอีครบตามเกณฑ์ x 100 จำนวนเด็กอายุครบ 3 ปี ทั้งหมดในพื้นที่รับผิดชอบ

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เกณฑ์การพิจารณาความครบถ้วนของการได้รับวัคซีนเจอี ในเด็กอายุครบ 2 ปี ประวัติการได้รับวัคซีนเจอี ความครบถ้วน เจอีเชื้อตาย 2 ครั้ง ผ่านเกณฑ์ เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง และ LAJE 1 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ LAJE 1 ครั้ง LAJE 1 ครั้ง และ เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่เคยได้รับทั้งชนิดเชื้อตาย และ LAJE

การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เกณฑ์การพิจารณาความครบถ้วนของการได้รับวัคซีนเจอี ในเด็กอายุครบ 3 ปี ประวัติการได้รับวัคซีนเจอี ความครบถ้วน เจอีเชื้อตาย 3 ครั้ง ผ่านเกณฑ์ เจอีเชื้อตาย 2 ครั้ง และ LAJE 1 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง และ LAJE 2 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง และ LAJE 1 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ LAJE 2 ครั้ง LAJE 1 ครั้ง และ เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่เคยได้รับวัคซีนทั้งชนิดเชื้อตาย และ LAJE

AEFI ระบบปกติ การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับวัคซีน ไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ สายพันธุ์ SA 14-14-2 ระบบปกติ AEFI

อาการภายหลังได้รับวัคซีน : LAJE * จากแบบบันทึกอาการภายหลังได้รับวัคซีน 2,229 ใบ และหน่วยบริการส่วนใหญ่ให้บริการ LAJE พร้อมกับ DTP4 และ OPV4 62.2 % ปกติ 22.5% ไข้ต่ำ 5.6% ปวด บวม แดง ร้อน

ขอบคุณค่ะ