สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Law on Natural Resource Management
Advertisements

การพัฒนาอย่างยั่งยืน
บทบาทของอาจารย์ 9 มทร.กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
กระบวนการศึกษาและพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
Knowledge Management Reform to Innovation in Higher Education for The World Sustainable Development.
โครงการจัดตั้งสถานวิจัยความเป็นเลิศ ด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ Natural Products Research Center of Excellence Faculty of Science, PSU.
Green Products & Services
ส่วนที่ 2 ระบบประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการบูรณาการ (Project Evaluation System)  การประเมินคุณภาพบริการ  การประเมินศักยภาพระบบสนับสนุน การวิเคราะห์ต้นทุน.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
ท้องถิ่นไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
กลุ่มสัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 8 พฤศจิกายน 2559
“สัมมนา 1 (Seminar I)” จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ณ อาคารเวฟเพลส ชั้น 8 วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2558 เวลา – น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
หลักการจัดการแมลงศัตรู
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
การบริหารและประเมินโครงการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
Globalization and the Law
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
คุณค่าของระบบนิเวศต่อภาคธุรกิจ (The corporate ecosystem valuation)
SEA Strategic Environmental Assessment E S A
ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การผลิตและการจัดการการผลิต
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
ASEAN-Swiss Partnership for Social Forestry and Climate Change
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการ
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บทที่ 4 การทำงบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
SERVICE MARKETING การตลาดบริการ • ความหมายของการบริการ • ความสำคัญของการบริการ • ความแตกต่างระหว่างสินค้าและการบริการ • ประเภทธุรกิจบริการ.
บทที่ 2 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล (Indicators of Good Governance)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริการ
บ่อเกิดแห่งสิทธิประเภทของสิทธิเสรีภาพสิทธิมนุษยชน สิทธิพลเมือง
Chapter I Introduction to Law and Environment
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ORGANIC TOURISM.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา ปัญหาที่เกิดจากระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ แนวคิดการพัฒนาแบบยั่งยืน แนวคิดเกี่ยวกับความยั่งยืนทางการเกษตร ระบบการเกษตรแบบยั่งยืน

สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวคิด ความเสื่อมโทรมและความถดถอยของสภาพแวดล้อม  ป่าไม้ลดลง  ฝนแล้ง  น้ำท่วม ดินเสื่อมโทรม อุณหภูมิโลกสูงขึ้น  อากาศเสียเพิ่มขึ้น  น้ำเน่าเสีย  ขยะล้นเมือง นี่หรือการพัฒนา?

ปัญหาที่เกิดจากระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ ปัญหาด้านสังคม สถาบันครอบครัวแตกสลาย ชุมชนแออัดในเมือง ปัญหาด้านเศรษฐกิจ รายได้ลดลง ขณะที่รายจ่ายเพิ่มขึ้น หนี้สินเพิ่มพูน ถูกเอารัดเอาเปรียบ

ปัญหาที่เกิดจากระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ (ต่อ) ปัญหาด้านระบบนิเวศน์วิทยา สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม มลภาวะเป็นพิษ ปัญหาด้านคุณภาพของผลผลิต คุณภาพต่ำลง คุณค่าทางโภชนาการลดลง สารเคมีตกค้าง/ปนเปื้อน

แนวคิดการพัฒนาแบบยั่งยืน “การพัฒนาแบบยั่งยืน” หมายถึง รูปแบบการพัฒนาที่... ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างต่อเนื่องยาวนาน ไม่ก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ก่อให้เกิดความขาดแคลนหรือภาวะมลพิษ

แนวคิดการพัฒนาแบบยั่งยืน สืบเนื่องมาจาก “แนวคิดการอนุรักษ์” (conservation) แต่ครอบคลุมแนวคิดการพัฒนาในทุกๆ ด้าน เศรษฐกิจ สังคม ระบบนิเวศน์ การประสานสัมพันธ์ในสาขาการพัฒนาต่างๆ

การพัฒนาแบบยั่งยืนเป็นเป้าหมายที่สำคัญของการพัฒนาในทุกสาขา แต่ความหมาย/องค์ความรู้ยังไม่ชัดเจน นักวิชาการต้องนำเสนอลักษณะและแนวทางการพัฒนาแบบยั่งยืนให้ชัดเจนมากขึ้น

นิยาม Sustainable Development: คณะกรรมาธิการโลกว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (The World Commission on Environmental and Development) นิยาม Sustainable Development: “เป็นการพัฒนาที่สนองความต้องการของมนุษย์ในปัจจุบัน โดยที่ยังมีทรัพยากรเหลือไว้ให้ชนรุ่นหลังใช้สนองความต้องการในอนาคตด้วย”

แนวคิดเกี่ยวกับความยั่งยืนทางการเกษตร Douglass (1984): เป็นสภาวะที่เอื้ออำนวยให้เกษตรกรสามารถผลิตเพื่อสนองความต้องการอาหารในอนาคต โดยไม่สร้างภาระทางสังคม (social cost) และไม่ทำให้เสียโอกาสหรือการกระจายรายได้

ความยั่งยืนทางการเกษตร ต้องพิจารณาปัจจัย 3 ประการ เศรษฐกิจ (Economic) นิเวศวิทยาหรือสิ่งแวดล้อม (Ecology/Environment) สังคม/ชุมชน (Social/Community)

ความยั่งยืนทางการเกษตร ความยั่งยืนเชิงเศรษฐกิจ: Growth Efficiency Stability ความสามารถในการผลิตที่เพียงพอต่อความต้องการ โดยใช้ทรัพยากรและกรรมวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด คำนึงถึงความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจเป็นหลัก

ความยั่งยืนทางการเกษตร ความยั่งยืนเชิงนิเวศวิทยาหรือสิ่งแวดล้อม: Healthy Environment Rational use of renewable natural resources Conservation of non-renewable natural resources การผลิตที่อยู่ภายใต้ข้อจำกัดของทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ทำให้สมดุลทางนิเวศวิทยาสูญเสียและเกิดมลภาวะ

ความยั่งยืนทางการเกษตร ความยั่งยืนเชิงสังคมหรือชุมชน: Equity Social Participation Cultural Identity มนุษย์พึ่งพาธรรมชาติ ดังนั้นควรเป็นผู้อนุรักษ์และดำรงชีวิตให้สอดคล้องธรรมชาติ และทุกคนในชุมชนควรตระหนักในบทบาทนี้

Economic Environment Social Growth Efficiency Stability Equity Social Participation Cultural identity Healthy environment Rational use of renewable natural resources Conservation of non-renewable natural resources

ระบบการเกษตรแบบยั่งยืน 1. ระบบการเกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming) การจัดระบบของกิจกรรมการผลิตในไร่นาให้ผสมผสานต่อเนื่องและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดยใช้ทรัพยากรที่มีอย่างเหมาะสมเกิดประโยชน์สูงสุด มีความสมดุลของสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

1. ระบบการเกษตรแบบผสมผสาน (ต่อ) เป็นรูปแบบเกษตรพื้นฐานของประเทศตะวันออก ช่วยแก้ปัญหาหนี้สิน ลดการพึ่งพาภายนอกได้สูง จุดเด่น ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ เอื้ออำนวยต่อการผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน ลดต้นทุนการผลิต กิจกรรมการผลิตหลากหลาย ลดความเสี่ยง

1. ระบบการเกษตรแบบผสมผสาน (ต่อ) รูปแบบที่เหมาะสม ขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่น สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม

2. ระบบการเกษตรแบบวนเกษตร (Agro-forestry) หลักการ: การจัดการป่าไม้ร่วมกับการทำการเกษตร หัวใจ: “การปลูกไม้ยืนต้น” การเข้าสู่ระบบวนเกษตร ต้องค่อยเป็นค่อยไป เช่น เดิมทำการเกษตรเพื่อการค้า => ปลูกไม้ยืนต้นเพิ่มขึ้น เป็นเกษตรผสมผสานก่อน => วนเกษตร

3. ระบบเกษตรกรรมอินทรีย์ (Organic Farming) หลักการ: การปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบรูณ์ตามธรรมชาติด้วยอินทรีย์วัตถุและสิ่งมีชีวิตในดิน หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีที่สังเคราะห์ขึ้น เน้นปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ควบคุมศัตรูพืช โดยหลักชีววิธี (Biological Control)

3. ระบบเกษตรกรรมอินทรีย์ (Organic Farming) เป็นผลดีต่อทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิตในด้านสุขภาพ รักษาระบบนิเวศน์ ไม่ค่อยกว้างขวาง เพราะต้องอาศัยการเรียนรู้และการดูแลเอาใจใส่ในการจัดการสูง

4. ระบบเกษตรกรรมธรรมชาติ (Natural Farming) พัฒนาขึ้นโดย “มาซาโนบุ ฟูกูโอกะ” ในหนังสือ The one straw revolution อาศัยความสมดุลของระบบนิเวศน์เป็นหลัก สอดคล้องกับแนวคิดและหลักศาสนาตะวันออก

4. ระบบเกษตรกรรมธรรมชาติ (Natural Farming) มีหลักการ 4 ข้อ คือ การไม่ไถพรวนพื้นดิน การไม่ใส่ปุ๋ยทุกชนิด การไม่กำจัดวัชพืช การไม่ใช้สารฆ่าแมลง

4. ระบบเกษตรกรรมธรรมชาติ (Natural Farming) ไม่มีรูปแบบตายตัว พืชที่ปลูก ควรเป็นพืชพื้นเมือง อุปสรรคสำคัญ คือ อิทธิพลของระบบธุรกิจที่มีผลต่อวิถีการผลิต และ ค่านิยมที่ถือเอาปริมาณผลผลิตเป็นเครื่องแสดงความสำเร็จ อาศัยการฟื้นฟูทางธรรมชาติสูง