บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Advertisements

Chapter 12 : Maintaining Information Systems
The Genetic Basis of Evolution
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
ข้อมูล & สารสนเทศ ข้อมูล ( Data) - ข้อเท็จจริงที่ได้จากการ สังเกตุ หรือสำรวจความเป็นไปของเหตุการณ์ ของโลกเพื่อให้เกิดความเข้าใจในเหตุการณ์ นั้น สารสนเทศ.
ความสำคัญปัญหาองค์ประกอบ M-I-S M-I-Sสนใจเรื่องอะไร สรรพสิ่ง ENTITIES Context อะไร.
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
Overview of Animal Breeding Stop and think ?... ทำไมต้องมีการปรับปรุงพันธุ์ สัตว์ ? ต้องการผลิตลูกสัตว์ที่มี ลักษณะดีเด่นขึ้น.
1 คต ๔๔๑ สรุปการจัดการ โครงการซอฟต์แวร์ คต ๔๔๑ สรุปการจัดการ โครงการซอฟต์แวร์ Royal Thai Air Force Academy : RTAFA Royal Thai Air Force Academy : RTAFA.
ลักษณะงานของวิศวกร ซอฟต์แวร์ ● วิเคราะห์และจัดทำความ ต้องการซอฟต์แวร์ ● ออกแบบซอฟต์แวร์ ● พัฒนาซอฟต์แวร์ ● ทดสอบซอฟต์แวร์ ● บำรุงรักษาซอฟต์แวร์ ● จัดการองค์ประกอบ.
WIND Work Improvement in Neighbourhood Development.
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ( ร้อยละ 60) ระดับความสำเร็จใน การบรรลุเป้าหมาย  KPI 1. : ระดับกระทรวง และกรม มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการ ให้บริการ ( ร้อยละ 10)
การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21
Database Planning, Design, and Administration
ความหลากหลายทางชีวภาพ และ การอนุรักษ์
Thai Quality Software (TQS)
โครงสร้างอะตอม.
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 10 การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การจัดหาหรือจัดให้มีการพัฒนา และการบํารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัย.
IT Project Management 05 IT Quality Management.
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
พัฒนาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (1)
ผู้ช่วยสอน : นางสาวอมรรัตน์ ตันบุญจิตต์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การบริหารผลการปฏิบัติงาน
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
Miss. Teeranuch Sararat Teerapada Technological College
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
รศ 211 พัฒนาการประวัติศาสตร์การปกครองไทย PO 211Thai Governance and Politics in Historical Development อาจารย์นนท์ น้าประทานสุข Office Hour: Monday-Friday.
การพัฒนาและติดตั้งระบบ
กระทรวงศึกษาธิการ.
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 4 การปรับปรุงพันธุ์สุกร.
การเปลี่ยนจากระบบ ซี สู่ระบบ แท่ง
ชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Robert Darwin)
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
พฤติกรรมนิเวศ (Ecological behavior)
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
บทที่ 5 ระบบเลขฐานและรหัสแทนข้อมูล
การประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสังเคราะห์บทเรียน 3 ปี
การคัดเลือกและ การประมาณพันธุศาสตร์ปริมาณ
Activity-Based-Cost Management Systems.
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ในการเขียน แบบ ก.พ.อ 03 ปรับปรุง / 2
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
Introduction to Quantitative Genetics
บุคลิกภาพ (ต่อ).
บทที่ 7 การจัดการผลผลิตโคเนื้อ
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
โรเบิร์ต บอยล์ Robert Boyle
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
(การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางด้วยเทคนิค storytelling)
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
น้ำตกคลองลาน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
Khuanchai Kamontheptawin no.19 m4.1
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
แผนปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรม Thai COC
นัก วิทยาศาสตร์ ผู้ผลิต โทรทัศน์ คนแรก ของ โลก
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์
ประมวลภาพงานวันป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๗ รำลึกครบรอบ ๑๐ ปี สึนามิ เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ อนุสรณ์สถานสึนามิบ้านน้ำเค็ม.
วิชากระบวนการนโยบายสาธารณะ PPA1104
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ของรายงานการทำโครงงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.1 ความหมายของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Livestock Improvement) เป็นการเพิ่มสมรรถภาพการผลิตของสัตว์ด้วยการปรับปรุงทางด้านพันธุกรรม เพื่อให้ได้สัตว์ที่มีคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยอาศัยขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ คือ การคัดเลือกและการผสมพันธุ์สัตว์ ทั้งนี้ต้องทำการคัดเลือกอย่างรอบคอบและมีกฎเกณฑ์ แล้วนำสัตว์ที่คัดเลือกไว้มาทำการผสมพันธุ์ตามแผนการผสมพันธุ์ที่ถูกกำหนดไว้ แผนการปรับปรุงพันธุกรรมของสัตว์จะดำเนินไปได้ต้องนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มาใช้ ได้แก่ ชีววิทยา สรีรวิทยา ชีวเคมี พันธุศาสตร์ และสถิติ รวมทั้งความสำคัญในเชิงเศรษฐกิจของลักษณะ และกฎเกณฑ์อื่น ๆ ร่วมด้วย

บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.2 ความสำคัญของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.2.1 ความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศชาติ การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ เป็นการเพิ่มจำนวนและผลผลิตของสัตว์ ช่วยลดการเสียดุลการค้า 4.2.2 ความสำคัญต่อสังคม 1) เพิ่มอาชีพให้แก่สังคม 2) เพิ่มอาหารที่มีคุณภาพดีให้แก่สังคม 4.2.3 ความสำคัญต่อวิชาการ เกิดผลการวิจัยใหม่ ๆ นำมาพัฒนาการผลิตสัตว์ เช่น ทำให้อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อของไก่ดีขึ้น ซึ่งจากเดิมเท่ากับ 1 : 3.5 ปัจจุบันเหลือเพียง 1 : 1.9 ร่นระยะเวลาการเลี้ยงไก่กระทงจากเดิมใช้เวลา 12 สัปดาห์ ปัจจุบันใช้เวลาเพียง 6 สัปดาห์ ทำให้เกิดสัตว์พันธุ์แท้สายพันธุ์ใหม่ที่เหมาะสมกับภูมิประเทศและภูมิอากาศของประเทศไทย

บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.3 องค์ประกอบหลักของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.3.1 การคัดเลือกพันธุ์สัตว์ (selection) หมายถึง ขบวนการที่สัตว์ตัวใดตัวหนึ่งในฝูงมีโอกาสสืบพันธุ์มากกว่าสัตว์ตัวอื่น สัตว์ที่ถูกคัดเลือกไว้จะถ่ายทอดพันธุกรรมสู่ลูกในรุ่นต่อไป 4.3.2 การผสมพันธุ์สัตว์ (mating system) หมายถึง การกำหนดให้คู่สัตว์ที่จะมาผสมพันธุ์กัน เป็นไปตามแผนผัง หรือรูปแบบการผสมพันธุ์สัตว์แบบต่าง ๆ ที่มนุษย์กำหนดขึ้น เพื่อให้ได้สัตว์ที่มีลักษณะต่าง ๆ ตามกำหนด การคัดเลือกสัตว์ที่แม่นยำต้องกระทำควบคู่ไปกับการวางแผนผสมพันธุ์สัตว์ที่ดีเสมอ

บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.4 ประวัติการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การปรับปรุงพันธุ์สัตว์โดยมนุษย์ เชื่อว่าเกิดขึ้นหลังจากที่ได้นำสัตว์มาเลี้ยงเมื่อประมาณ 10,000 ปีที่ผ่านมา โดยสันนิษฐานว่ามนุษย์ได้ออกไปล่าสัตว์แล้วนำลูกสัตว์อายุน้อยมาเลี้ยง หรือนำสัตว์ที่พิการมากักขังไว้และเริ่มเรียนรู้วิธีการเลี้ยงสัตว์ จนในที่สุดสามารถเลี้ยงได้ สัตว์ที่มนุษย์นำมาเลี้ยงชนิดแรก คือ สุนัข สำหรับสัตว์เลี้ยงที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ได้แก่ โค สุกร และไก่

บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.4 ประวัติการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.4.1 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในยุคแรก การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในยุคแรกเริ่มเมื่อประมาณ ปี ค.ศ. 1760 นักเลี้ยงสัตว์ชาวอังกฤษชื่อ Robert Bakewell ได้ทำการผสมพันธุ์สัตว์ตัวที่มีลักษณะดีเด่นเข้าด้วยกัน และทำการคัดเลือกลักษณะที่ดีเด่นกว่าตัวอื่นไว้ผสมพันธุ์ในรุ่นต่อไป ทำให้สัตว์รุ่นต่อไปมีลักษณะดีขึ้น ซึ่งในปัจจุบันเรียกการผสมพันธุ์แบบนี้ว่าการผสมแบบเลือดชิด (inbreeding)

บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.4 ประวัติการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.4.1 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในยุคแรก 1) ประวัติ Robert Bakewell Robert Bakewell ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของวิชาการผสมพันธุ์สัตว์ เป็นชาวอังกฤษ เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1725 ในครอบครัวเกษตรกร เมื่ออายุได้ 35 ปี ในปี ค.ศ. 1760 เขาได้เริ่มงานผสมพันธุ์สัตว์ ด้วยการผสมม้า แกะ และโค โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้ได้ผลผลิตคุณภาพสูงที่สุด

บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.4 ประวัติการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.4.1 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในยุคแรก 2) หลักสำคัญในการทำงานของ Robert Bakewell -มีความคิดที่มั่นคงแน่นอน (definite ideals) -มีหลักการคัดเลือกพ่อพันธุ์ที่ถูกต้องจนได้พ่อพันธุ์ดีจริง ๆ ซึ่งวิธีการนี้ต่อมานักผสมพันธุ์สัตว์รุ่นหลัง ๆ เรียกว่าวิธีการทดสอบลูก (progeny testing) -มีระบบการผสมพันธุ์สัตว์ที่ดี (breeding systems) เมื่อ Bakewell คัดเลือกได้พ่อแม่พันธุ์ที่ดีแล้ว เขาก็ใช้หลักการผสมพันธุ์ที่ว่า “ผสมพันธุ์สัตว์ที่ดีที่สุด เข้ากับตัวที่ดีที่สุด” เพื่อให้ได้ลูกหลานออกมาเป็นตัวที่ดีต่อไป

บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.4 ประวัติการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.4.2 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในยุคปัจจุบัน เริ่มขึ้นเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1900 ซึ่งเป็นปีที่ 25 หลังจากกฎการถ่ายทอดลักษณะของ Gregor John Mendel ได้ถูกค้นพบ ด้วยการนำกฎการถ่ายทอดลักษณะของเมนเดลมาใช้ร่วมกับวิชาพันธุศาสตร์และวิชาสถิติ ทำให้การปรับปรุงพันธุ์สัตว์เริ่มเป็นวิทยาศาสตร์ขึ้น ซึ่งได้รับการพัฒนาครั้งแรกโดย Fisher และ Wright โดย Lush นำมาขยายความต่อเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในทางปฏิบัติ หลักการดังกล่าวถูกใช้ตลอดครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา

บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.5 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในประเทศไทย 4.5.1 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์โดยหน่วยงานราชการ โดยกองบำรุงพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์ เช่น โครงการปรับปรุงคุณภาพโคพื้นเมือง โครงการสร้างโคเนื้อพันธุ์ตาก โครงการสร้างโคเนื้อพันธุ์กบินทร์บุรี โครงการปรับปรุงพันธุ์โคนมThai - Friesian โครงการปรับปรุงพันธุ์สุกร โครงการปรับปรุงพันธุ์ไก่เนื้อไทยสายพันธุ์ตาก และโครงการปรับปรุงพันธุ์ไก่เนื้อกบินทร์บุรี การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในมหาวิทยาลัยของรัฐ เช่น ม.เกษตรศาสตร์ ได้นำโคพื้นเมือง คือ โคพันธุ์ American Brahman และโคพันธุ์ Charolais มาปรับปรุงพันธุ์สร้างเป็นโคพันธุ์กำแพงแสน ซึ่งเหมาะกับสภาพการเลี้ยงดูในประเทศไทย แต่ต้องใช้เวลานาน

บทที่ 1 ความสำคัญและประวัติของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 4.5 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในประเทศไทย 4.5.2 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์โดยเอกชน นิยมนำสัตว์พันธุ์แท้จากต่างประเทศ หรือต่างฟาร์มเข้ามาเลี้ยงเป็นพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ เพื่อผลิตลูกจำหน่ายหรือส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยงต่อไป ซึ่งวิธีการนี้ต้องเสียค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณในการจัดซื้อพันธุ์สัตว์จำนวนมาก แต่ใช้ระยะเวลาสั้นสำหรับการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในฟาร์ม