หลักการเขียนโปรแกรมภาษาซี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Computer Programming 1 LAB Test 3
LAB # 1.
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
การรับค่าและแสดงผล.
LAB # 4 Computer Programming 1 1. พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้
LAB # 4.
Week 15 C Programming.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
บรรยายครั้งที่ 3: Queue
บรรยายครั้งที่ 2: Stack
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
Functions Standard Library Functions User-defined Functions.
Repetitive Or Iterative
Programming With C Data Input & Output.
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การสร้างฟังก์ชั่นเพื่อพัฒนาโปรแกรม Interactive C
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
C language W.lilakiatsakun.
การเขียนโปรแกรมแสดงผลข้อมูล
#include #define N 5 void main() { inti, X[N]; for (i=0; i < N; i++) { /* รับข้อมูล */ printf(“Enter number : ”); scanf(“%d”, &X[i] ); } for (i=0; i
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Output of C.
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
การเปรียบเทียบเงื่อนไข
การทำซ้ำ Pisit Nakjai.
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
บทที่ 4 คำสั่งควบคุม โปรแกรม. คำสั่งควบคุมโปรแกรมออกได้เป็น 2 ประเภท คือ คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข (Conditional Statement) คำสั่งแบบทำงานซ้ำ (Repetitive.
ฟังก์ชันในภาษา C. ฟังก์ชัน (Functions) 2 การออกแบบโปรแกรมในภาษาซี จะอยู่บนพื้นฐานของการออกแบบ โมดูล (Module Design) โดยการแบ่ง โปรแกรมออกเป็นงานย่อย ๆ.
การเปรียบเทียบเงื่อนไข
โครงสร้างภาษาซี C ++ structure
โครงสร้างการทำงานแบบวนซ้ำ
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming I โดย อ.วิมลศรี เกตุโสภณ สาขาวิชาระบบสารสนเทศ
อาร์เรย์ (Array) อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โปรแกรม ภาษา C ภาษาซี (C Language) เป็นภาษาหนึ่งสำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์   พัฒนาขึ้นโดยนายเดนนิส  ริทชี่ (Dennis Ritche)  ในปี ค.ศ. 1972  เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C
บทที่ 4 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
คณาจารย์ หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์คณะวิทยาการสารสนเทศ
C Programming By Mr. Sanae Sukprung.
การควบคุมทิศทางการทำงาน
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข
ใช้สำหรับ Turbo C++ Version 3.0
ภาษา C เบื้องต้น.
การควบคุมการทำงานด้วยภาษา C
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
introduction to Computer Programming
ระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ ของ
บทที่ 2 แนะนำภาษา C Basic C Program
Chapter 3 Basic Input & Output.
Chapter 7 ฟังก์ชัน Function.
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
Introduction to Computer Programming
Chapter 5: Function.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการเขียนโปรแกรมภาษาซี

องค์ประกอบของภาษาซี คำสั่งก่อนการประมวลผล หรือ ส่วนหัวของโปรแกรม (Header File) รูปแบบ # include <header_name> อธิบาย header_name ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ที่ควบคุมฟังก์ชันมาตรฐาน เช่น ฟังก์ชัน printf ใช้ควบคุมการแสดงผล จัดเก็บในไลบรารีชื่อ # include <stdio.h> ตัวอย่าง # include <stdio.h> อธิบาย ให้คอมไพเลอร์ค้นหาไลบรารีไฟล์ชื่อ stdio.h จากไดเรกทอรี include

องค์ประกอบของภาษาซี 2. ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Functio) การเขียนโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชันหลักชื่อ main เสมอโดยมีรูปแบบฟังก์เป็นดังนี้ Int main(void) { Executable statement; . ‘ return(0); }

องค์ประกอบของภาษาซี 3. การพิมพ์คำสั่งควบคุมงานในโครงสร้างภาษาซี คำแนะนำในการพิมพ์คำสั่งงาน ซึ่งภาษาซีเรียกว่า ฟังก์ชัน (ต่อไปนี้จะเรียกว่า คำสั่ง ตามที่นิยมทั่วไป) ในส่วนประกอบภายในโครงสร้างภาษาซีมีแนวทางปฏิบัติดังนี้ คำสั่งที่ใช้ควบคุมการประมวลผลตามลำดับที่ได้วิเคราะห์ไว้ ต้องเขียนภายในเครื่องหมาย { } ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของ ฟังก์ชันหลักชื่อ main ( )

องค์ประกอบของภาษาซี ปกติคำสั่งควบคุมงานจะเป็นอักษรตัวพิมพ์เล็ก ยกเว้นบางคำสั่งที่ภาษกำหนดว่าต้องเป็นอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ต้องปฏิบัติตามนั้น เพราะภาษาซีมีความแตกต่างในเรื่องตัวอักษร เมื่อสิ้นสุดคำสั่งงาน ต้องพิมพ์เครื่องหมายเซมิโคลอน (;) ใน 1 บรรทัด พิมพ์ได้มากกว่า 1 คำสั่ง แต่นิยมบรรทัดละ 1 คำสั่ง เพราะอ่านโปรแกรมง่ายเมื่อมีข้อผิดพลาด ย่อมตรวจสอบและค้นหาเพื่อแก้ไขได้รวดเร็ว การพิมพ์คำสั่ง หากมีส่วนย่อย นิยมเคาะเยื้องเข้าไป เพื่ออ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เมื่อมีข้อผิดพลาดย่อมตรวจสอบและค้นหาเพื่อแก้ไขได้รวดเร็ว

องค์ประกอบของภาษาซี ตัวอย่าง #include <stdio.h> Int main(void) { pintf(“Computer Technology”); return(0); }

ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร

ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร ชนิดและขนาดของข้อมูล

ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร การประกาศใช้ตัวแปร

ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร การใช้งานตัวแปร

ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร การใช้งานตัวแปร

ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร ชนิดข้อมูล และการประกาศตัวแปร การใช้งานตัวแปร

ข้อความสั่งการ การกำหนดค่า เป็นข้อความสั่งในการนำค่าใดๆ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณไปเก็บในตัวแปร ซึ่งจะถูกใช้ในการคำนวณค่าทางคณิตศาสตร์ Int main(void) { int Number1,Number2, A=4 , B=5; … Number1 = 10 Number2=A+B; return(0); }

ข้อความสั่งการ ฟังก์ชันแสดงผล printf() เป็นฟังก์ชันมาตรฐานของภาษาซี สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาทางจอภาพตามรูปแบบที่กำหนด #include <stdio.h> Int main(void) { pintf(“Computer Technology”); return(0); }

ข้อความสั่งการ ในการแสดงค่าข้อมูลหรือตัวแปรนั้น จะใช้สัญลักษณ์ % นำหน้าชนิดข้อมูลนั้นๆ โดยที่แต่ละชนิดข้อมูลจะใช้รูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ ชนิดข้อมูล รูปแบบที่ใช้กับ Printf() Scanf() อักขระ 1 ตัว %C เลขจำนวนเต็ม %hd ,%d,%ld,%u เลขจำนวนจริง %f, %e, %Lf, %Le

ข้อความสั่งการ รูปแบบในการแสดงผลข้อมูลชนิดตัวเลข การกำหนดรูปแบบค่าข้อมูลชนิดตัวเลขจำนวนเต็ม ให้ใส่ขนาดของตัวเลขหรือจำนวนเต็มของคอลัมภ์ที่ต้องการแสดง โดยเขียนอยู่ระหว่างเครื่องหมาย % กับ d printf(“Rectangle = %6d” , R ความหมาย การแสดงค่าของตัวแปร R จะมีขนาด 6 ตัวอักษร โดยจะแสดงตัวเลขชิดขวา

ข้อความสั่งการ ฟังก์ชันรับข้อมูล scanf() เป็นฟังก์ชันมาตรฐานของภาษาซี สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำการรับข้อมูลทางแผงแป้นอักขระ ฟังก์ชันลบข้อความทางจอภาพ clrscr() เป็นฟังก์ชันมาตรฐานของภาษาซี สั่งให้คอมพิวเตอร์ลบจอภาพ ซึ่งต้องเขียนคำสั่ง #include<conio.h> ฟังก์ชันรับข้อมูล 1 อักขระ getch() เป็นฟังก์ชันมาตรฐานของภาษาซี สั่งให้คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์ทางจอภาพและทำการรับข้อมูลทางแผงแป้นอักขระ จำนวน 1 อักขระก่อนกลับมายังโปรแกรม

ข้อความสั่งการ ตัวอย่าง #include <stdio.h> Int main(void) { pintf(“Computer Technology”); return(0); }

ข้อความสั่งการ ตัวอย่าง #include <stdio.h> #include<conio.h> Int main(void) { pintf(“Computer Technology”); getch(); return(0); }

ข้อความสั่งการ ตัวอย่าง #include <stdio.h> #include<conio.h> Int main(void) { int Width,Length,Rectangle; clrscr(); printf(“Enter Width:”); scanf(“%d”,&Width); printf(“Enter Length:”); scanf(“%d”,&Length); Rectangle=Width*Length; printf(“Rectangle=%d”,Rectangle); getch(); return(0); }

ข้อความสั่งการ ตัวอย่าง 1. จงเขียนโปรแกรมภาษาซีเพื่อคำนวณหาความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุจากสุตร ความเร็ว = ระยะทาง/เวลา 2. จงเขียนโปรแกรมภาษาซีเพื่อคำนวณราคาสินค้ารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%