บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง บทนำ การจัดการสินค้าคงคลังพื้นฐาน จุดมุ่งหมายด้านเงินของกลยุทธ์สินค้าคงคลัง ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ผลกระทบของการหมุนเวียนสินค้าคงคลังที่มีต่อต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง การจัดการสินค้าคงคลังที่ไม่เพียงพอ การปรับปรุงจัดการสินค้าคงคลัง ผลกระทบของการลดสินค้าคงคลังที่มีต่อกำไรของกิจกการ
วัตถุประสงค์ เพื่อพิจารณาการนำแนวความคิดพื้นฐานด้านสินค้าคงคลังมาประยุกต์ใช้ เพื่อเรียนรู้วิธีการคำนวณจำนวนสินค้าปลอดภัย (Safety Stocks) เพื่อแสดงให้เห็นถึงการที่นโยบายการผลิตมีอิทธิพลต่อระดับสินค้าคงคลัง เพื่อแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างสินค้าคงคลังและการให้บริการลูกค้า
ความหมายของการจัดการสินค้าคงคลัง การจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management) ซึ่งอาจจะเป็นวัตถุดิบ สินค้าสำเร็จรูป งานระหว่างผลิต สินค้าที่เป็นส่วนประกอบ วัสดุสิ้นเปลือง ให้มีต้นทุนและมีระดับความพึงพอใจของลูกค้าที่เหมาะสมและให้มีความสมดุลระหว่างอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply)
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง ทำไมต้องมีการถือสินค้าคงคลัง? เพื่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน (Balancing Supply and Demand) เพื่อให้เกิดความชำนาญเฉพาะทางในการผลิต (Specialization) เพื่อป้องกันความไม่แน่นอนที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต (Protection from Uncertainties) เพื่อเป็นกันชนไม่ให้เกิดปัญหาวิกฤต(Inventory as a Buffer)
ประเภทของสินค้าคงคลัง การจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management) ซึ่งอาจจะเป็นวัตถุดิบ สินค้าสำเร็จรูป งานระหว่างผลิต สินค้าที่เป็นส่วนประกอบ วัสดุสิ้นเปลือง ให้มีต้นทุนและมีระดับความพึงพอใจของลูกค้าที่เหมาะสมและให้มีความสมดุลระหว่างอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply)
ชนิดของสินค้าคงคลัง วัตถุดิบ งานระหว่างดำเนินการ(WIP) สินค้าที่ผลิตเสร็จ/สินค้าสำเร็จรูป สินค้า(Speculative Stock) สินค้าที่เก็บไว้ตามฤดูกาล(Seasonal Stock) สินค้าไม่เคลื่อนไหว(Dead Stock)
ชนิดของสินค้าคงคลัง วัตถุดิบ งานระหว่างดำเนินการ(WIP) สินค้าที่ผลิตเสร็จ/สินค้าสำเร็จรูป สินค้า(Speculative Stock) สินค้าที่เก็บไว้ตามฤดูกาล(Seasonal Stock) สินค้าไม่เคลื่อนไหว(Dead Stock)
ก) ปริมาณการสั่ง 400 หน่วย สินค้าคงคลัง 400 200 วัน 10 20 30 40 50 60 สั่งซื้อสินค้า สินค้ามาส่ง สินค้าคงคลังเฉลี่ย ในแต่ละรอบ รูปที่ 4-2 ผลกระทบของปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้งและระดับสินค้าคงคลัง เฉลี่ยเมื่อความต้องการสินค้าและเวลาคงที่
ข) ปริมาณการสั่ง 200 หน่วย สินค้าคงคลัง 200 100 10 20 30 40 50 60 สินค้ามาส่ง สั่งซื้อสินค้าใหม่ สินค้าคงคลังเฉลี่ย ในแต่ละรอบ รูปที่ 4-2 ผลกระทบของปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้งและระดับสินค้าคงคลัง เฉลี่ยเมื่อความต้องการสินค้าและเวลาคงที่
ค) ปริมาณการสั่ง 600 หน่วย สินค้าคงคลัง 600 300 วัน 10 20 30 40 50 60 สั่งซื้อสินค้า สินค้ามาส่ง สินค้าคงคลังเฉลี่ย ในแต่ละรอบ รูปที่ 4-2 ผลกระทบของปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้งและระดับสินค้าคงคลัง เฉลี่ยเมื่อความต้องการสินค้าและเวลาคงที่
รูปที่ 4-3 การลงทุนในสินค้าคงคลังเฉลี่ยภายใต้เงื่อนไขของความไม่แน่นอน
รูปที่ 4-3 การลงทุนในสินค้าคงคลังเฉลี่ยภายใต้เงื่อนไขของความไม่แน่นอน
รูปที่ 4-3 การลงทุนในสินค้าคงคลังเฉลี่ยภายใต้เงื่อนไขของความไม่แน่นอน
การจัดการสินค้าคงคลังพื้นฐาน สินค้าคงคลังเป็นการใช้ไปของทุนหมุนเวียนประเภทหนึ่ง ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการจัดการสินค้าคงคลังที่สำคัญ คือ เพื่อเพิ่มความสามารถในการทำกำไรของกิจการโดยการปรับปรุงการจัดการสินค้าคงคลัง เพื่อพยากรณ์ผลกระทบของนโยบายของกิจการที่มีต่อระดับสินค้าคงคลัง เพื่อทำให้ต้นทุนรวมของกิจกรรมการจัดส่งทั้งหมดต่ำสุด ณ ระดับการให้บริการลูกค้าที่กำหนดไว้
ปัจจัยในการวัดประสิทธิผลของการจัดการสินค้าคงคลัง อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง = ต้นทุนขาย สินค้าคงคลังเฉลี่ย = รอบ อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง = 100,000 20,000 = 5 รอบ
ระบบความต้องการสินค้าเป็นอิสระเปรียบเทียบกับ ระบบความต้องการสินค้าไม่เป็นอิสระ สินค้าที่ความต้องการเป็นอิสระ (Independent Demand) สินค้าที่ความต้องการไม่เป็นอิสระ (Dependent Demand) การจัดการสินค้าคงคลังภายใต้สภาวะความแน่นอน ต้นทุนในการส่งคำสั่งซื้อ ต้นทุนในการรับสินค้า ต้นทุนในการนำสินค้าเข้าเก็บ ต้นทุนในการดำเนินการจ่ายเงิน
ปริมาณการสั่งที่ประหยัด (Economic Order Quantity: EOQ) รูปที่ 4-4 ปริมาณการสั่งอย่างประหยัด
การคำนวณหาปริมาณการสั่งที่ประหยัด (EOQ) สามารถทำได้ดังนี้ กำหนดให้ P = ต้นทุนในการสั่งต่อครั้ง (The ordering cost per order) D = ปริมาณความต้องการสินค้าหรือการใช้สินค้าต่อปี (Annual demand or usage of products in units) C = ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าต่อปี คิดตามเปอร์เซ็นต์ของต้นทุนหรือมูลค่าสินค้า (Annual inventory carrying cost as a percentage of product cost or value) V = ต้นทุนหรือมูลค่าของสินค้าเฉลี่ยต่อหน่วย (Average cost or value of one unit of inventory) Q = ปริมาณการสั่งในแต่ละครั้ง(Quantity per order)
ต้นทุนรวมต่อปี = ต้นทุนในการสั่งสินค้าต่อปี + ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าต่อปี ต้นทุนในการสั่งสินค้าต่อปี = ต้นทุนในการสั่งสินค้าต่อครั้ง x จำนวนครั้งที่สั่งสินค้า = P x (D / Q) = PD / Q ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าต่อปี = อัตราต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าต่อปี x ต้นทุนต่อหน่วย x จำนวนสินค้าเฉลี่ย = C(V x Q/2) ดังนั้น TC = PD/Q + CVQ/2 Q = 2PD CV = EOQ
ปริมาณการสั่งที่ประหยัด คือ ตัวอย่างที่ 4.1 จงใช้ข้อมูลที่กำหนดให้คำนวณหาปริมาณการสั่งที่ ประหยัด (EOQ) ความต้องการสินค้า (D) = 4,800 หน่วย/ปี* ค่าใช้จ่ายในการสั่งสินค้าต่อครั้ง(P) = 40 บาท/ครั้ง ราคาสินค้าต่อหน่วย (V) = 100 บาท/หน่วย ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้า (C) = 25% / ปี สูตร EOQ = 2PD = 2(40)(4,800) = 384,000 = 124 หน่วย ปริมาณการสั่งที่ประหยัด คือ 124 หน่วยต่อครั้ง (25%)(100) CV 25
จำนวนครั้ง ของการสั่ง ต้นทุนเก็บรักษา(บาท) ปริมาณการสั่งซื้อ Q จำนวนครั้ง ของการสั่ง (D/Q) ต้นทุนการสั่ง(บาท) [Px(D/Q)] ต้นทุนเก็บรักษา(บาท) (1/2 QxCxV) ต้นทุนรวม(บาท) 40 60 80 100 120 140 160 200 300 400 48 35 30 24 16 12 4,800 3,200 2,400 1,920 1,600 1,400 1,200 960 640 480 500 750 1,000 1,250 1,500 1,750 2,000 2,500 3,750 5,000 5,300 3,950 3,400 3,170 3,100 3,150 3,460 4,390 5,480 20X0.25X100= 500 ตารางที่ 4-1 ต้นทุนที่เกิดจากการสั่งซื้อในระดับต่าง ๆ เพื่อพิจารณา ปริมาณการสั่งที่ประหยัด (EOQ)
จำนวนครั้ง ของการสั่ง ต้นทุนเก็บรักษา(บาท) ปริมาณการสั่งซื้อ Q จำนวนครั้ง ของการสั่ง (D/Q) ต้นทุนการสั่ง(บาท) [Px(D/Q)] ต้นทุนเก็บรักษา(บาท) (1/2 QxCxV) ต้นทุนรวม(บาท) 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 120 80 60 48 40 35 30 24 16 12 6,000 8,000 9,000 9,600 10,000 10,500 7,200 625 1,250 1,875 2,500 3,125 3,750 4,375 5,000 5,625 6,250 6,625 9,250 10,875 12,100 13,125 14,250 14,875 14,600 12,825 12,250
เมื่อ Q1= ปริมาณสินค้าที่มากที่สุดที่ทำให้เกิดการ rD C Q1 = 2 + (1-R)Q0 เมื่อ Q1= ปริมาณสินค้าที่มากที่สุดที่ทำให้เกิดการ สั่งที่ประหยัดในกรณีที่มีส่วนลด r = เปอร์เซ็นต์ของส่วนลดในกรณีที่มีการสั่งซื้อสินค้า จำนวนมาก D = ปริมาณความต้องการสินค้าต่อปี(หน่วย) C = ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าต่อปี คิดตามเปอร์เซ็นต์ ของต้นทุนหรือมูลค่าสินค้า Q0 = ปริมาณ EOQ เมื่อใช้ราคาปัจจุบัน (Current price) rD C
รูปที่ 4-5 ความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนในสินค้าคงคลัง และระดับการให้บริการลูกค้า
รูปที่ 5-1 ต้นทุนต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์ ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ต้นทุนสินค้าตามปริมาณที่สั่งซื้อ ต้นทุนสารสนเทศและการดำเนินคำสั่งซื้อ ต้นทุนค่าขนส่ง ต้นทุนคลังสินค้า การส่งเสริม การจำหน่าย สินค้า สถานที่/ระดับการให้บริการ ราคา การตลาด โลจิสติกส์ รูปที่ 5-1 ต้นทุนต่าง ๆ ในระบบโลจิสติกส์
การคำนวณต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ต้นทุนของเงินทุน (Capital Costs) ต้นทุนด้านบริการที่เกี่ยวกับสินค้าคงคลัง (Inventory Service Costs) ต้นทุนการใช้พื้นที่เก็บสินค้าคงคลัง (Storage Space Costs) ต้นทุนความเสี่ยงที่เกิดจากสินค้าคงคลัง (Inventory Risk Costs)
ต้นุทนของเงินทุน (Capital Costs) ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ต้นทุนของเงินทุน ต้นทุนด้านบริการที่เกี่ยวกับสินค้าคงคลัง ต้นทุนการใช้พื้นที่เก็บสินค้าคงคลัง ต้นทุนความเสี่ยงที่เกิดจากสินค้าคงคลัง การลงทุนในสินค้าคงคลัง ค่าประกันภัย ภาษี คลังสินค้าโรงงาน คลังสินค้าสาธารณะ คลังสินค้าเช่าหรือเช่าซื้อ คลังสินค้าของกิจการ สินค้าเสื่อมสภาพ สินค้าเสียหาย สินค้าหดหาย ค่าใช้จ่ายในการย้ายสถานที่ ต้นุทนของเงินทุน (Capital Costs) รูปที่ 5-2 ส่วนประกอบของต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง
ต้นทุนจริง หรือต้นุทนมาตรฐาน สามารถแบ่งวิธีการคิดต้นทุนสินค้าคงคลังได้เป็น 4 ประเภทย่อย ดังนี้ วิธีต้นทุนทางอ้อมโดยใช้ต้นทุนจริง (Actual absorption costing) วิธีต้นทุนทางอ้อมโดยใช้ต้นทุนมาตรฐาน (Standard absorption costing) วิธีต้นทุนทางตรงโดยใช้ต้นทุนจริง (Actual direct costing) วิธีต้นทุนทางตรงโดยใช้ต้นทุนมาตรฐาน (Standard direct6 costing)
สินค้าสำเร็จรูป คงคลังในโรงงาน สินค้าสำเร็จรูปคงคลังในคลังสินค้า วัตถุดิบคงคลัง งานระหว่าง ทำคงคลัง สินค้าสำเร็จรูป คงคลังในโรงงาน สินค้าสำเร็จรูปคงคลังในคลังสินค้า รูปที่ 5-3 บทบาทของสินค้าคงคลังในระบบโลจิสติกส์ สมมติฐาน : เมื่อมีการลดหรือเพิ่มปริมาณสินค้าสำเร็จรูปคงคลังครั้งหนึ่ง ทำให้ต้องมีการลดหรือเพิ่มวัตถุดิบคงคลังส่วนหนึ่งตามไปด้วย
3. ต้นทุนการใช้พื้นที่เก็บสินค้าคงคลัง (Storage Space Costs) สามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท ตามลักษณะของสถานที่ ดังนี้ 3.1 คลังสินค้าโรงงาน(Plant Warehouses) 3.2 คลังสินค้าสาธารณะ(Public Warehouses) 3.3 คลังสินค้าเช่าหรือเช่าซื้อ (Rent or Leased (contract) Warehouses) 3.4 คลังสินค้าของกิจการ (Company-owned (private) Warehouses)
4. ต้นทุนความเสี่ยงที่เกิดจากสินค้าคงคลัง (Inventory Risk Costs) สามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้ 4.1 ต้นทุนสินค้าเสื่อม(Obsolescence) 4.2 ต้นทุนสินค้าเสียหาย(Damage Costs) 4.3 ต้นทุนสินค้าหดหาย(Shrinkage Costs) 4.4 ต้นทุนการย้ายสถานที่(Relocation Costs)
ตารางที่ 5-2 สรุปขั้นตอนที่ใช้ในการคำนวณต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง รายการ ขั้นตอนที่ ประเภทของต้นทุน คำอธิบาย ต้นทุนของสินค้าคงคลัง 1 มูลค่าสินค้าคงคลังเฉลี่ยโดยใช้เฉพาะต้นทุนแปรได้บวกค่าขนส่งไปยังที่เก็บสินค้า ใช้เฉพาะต้นทุนแปรได้เนื่องจากต้นทุนคงที่จะคงเดิมไม่ว่าจะมีสินค้าคงคลัง ณ ระดับใด ต้นทุนของเงินทุน 2 ต้นทุนของเงิน ต้นทุนของเงินที่ได้ลงทุนไปในสินค้าคงคลังโดยสามารถเทียบได้กับผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุนด้านอื่น ต้นทุนด้านบริการที่เกี่ยวกับสินค้าคงคลัง 3 4 ภาษี ประกันภัย ภาษีที่เกิดจากการมีสินค้าสำเร็จรูปไว้ในครอบครอง ค่าประกันภัยสินค้า ต้นทุนการใช้พื้นที่เก็บสินค้าคงคลัง 5 ค่าใช้จ่ายแปรได้ของพื้นที่เก็บสินค้า คิดเฉพาะค่าใช้จ่ายแปรได้ที่ตามปริมาณสินค้าที่เก็บ
ตารางที่ 5-2 สรุปขั้นตอนที่ใช้ในการคำนวณต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง รายการ ขั้นตอนที่ ประเภทของต้นทุน คำอธิบาย ต้นทุนความเสี่ยงที่เกิดจากการมีสินค้าคงคลัง 6 7 8 9 สินค้าเสื่อม สินค้าหดหาย สินค้าเสียหาย ค่าใช้จ่ายในการย้ายสถานที่ ค่าเสื่อมสภาพที่เกิดจากการเก็บสินค้า คงคลังไว้ สัดส่วนของสินค้าที่หดหายไปจากปริมาณสินค้าคงคลัง สัดส่วนของสินค้าที่เสียหายจากปริมาณสินค้าคงคลัง ค่าใช้จ่ายในการย้ายสถานที่เก็บสินค้าเพื่อป้องกันสินค้าเสื่อม การคำนวณทางการเงิน 10 11 เปอร์เซ็นต์ของต้นุทนการเก็บรักษาสินค้าทั้งหมด ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าทั้งหมด คำนวณตัวเลขต้นทุนประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่ขั้นตอนที่ 3-9 โดยคิดเป็น% ของสินค้าคงคลังเฉลี่ย และนำมาบวกกับตัวเลขจากขั้นตอนที่ 2 นำเปอร์เซ็นต์ของต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าทั้งหมด(ขั้นตอนที่ 10) คูนกับมูลค่าสินค้าคงคลังเฉลี่ย(ขั้นตอนที่ 1)
วิธีที่ 1 ล้านบาท ต้นทุนเต็มของสินค้าคงคลัง ต้นทุนแปรได้ 78% ของต้นทุนเต็ม ต้นทุนแปรได้ของสินค้าคงคลัง ต้นทุนของเงิน(ก่อนหักภาษี) 30% ต้นุทนของเงินที่เกิดจากการลงทุนในสินค้าคงคลัง 10,000,000 X 78% 7,800,000 X 30% 2,340,000 วิธีที่ 2 ต้นทุนของเงินที่ปรับแล้ว ต้นทุนของเงินที่เกิดจากการลงทุนในสินค้าคงคลัง 30% X 23.4% ตารางที่ 5-3 การปรับต้นทุนของเงินเพื่อหาต้นทุนที่เกิดจากการลงทุนในสินค้าคงคลัง
ตารางที่ 5-5 ผลกระทบของการหมุนเวียนสินค้าคงคลังที่มีต่อต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง รอบการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง สินค้าคงคลังเฉลี่ย (บาท) ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้า (บาท) ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้า ที่ประหยัดได้ (บาท) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 750,000 375,000 250,000 187,500 150,000 125,000 107,143 93,750 83,333 75,000 68,182 62,500 57,692 53,571 50,000 300,000 100,000 60,000 42,857 37,500 33,333 30,000 27,273 25,000 23,077 21,428 20,000 - 15,000 10,000 7,143 5,357 4,167 3,333 2,727 2,273 1,923 1,649 1,428
ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ผลกระทบของการหมุนเวียนสินค้าคงคลังที่มีต่อต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 25,000 50,000 75,000 100,000 125,000 150,000 175,000 200,000 225,000 250,000 275,000 300,000 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 13 12 15 14 37,500 รอบการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง รูปที่ 5-4 ความสัมพันธ์ระหว่างการหมุนเวียนสินค้าคงคลังและต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง
ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง การจัดการสินค้าคงคลังที่ไม่เพียงพอ ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 2.50 5.00 7.50 10.00 12.50 15.00 30.00 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 13 12 15 14 ต้นทุนการผลิตแปรได้ 100 บาท อัตราการเก็บรักษาสินค้า(30%) x 30% ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าต่อปี 30 บาท ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าต่อเดือน 2.50 บาท 6.00 3.75 รอบการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง รูปที่ 5-5 ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าเปรียบเทียบกับรอบการหมุนเวียนของสินค้า
การจัดการสินค้าคงคลังที่ไม่เพียงพอ อาการของการจัดการสินค้าคงคลังที่ไม่เพียงพอมีดังต่อไปนี้ การสั่งซื้อย้อนหลังเพิ่มขึ้น ตัวเลขการลงทุนในสินค้าคงคลังเพิ่มขึ้นในขณะที่การสั่งซื้อย้อนหลังคงที่ มีอัตราการหมุนเวียนของลูกค้าสูง การเพิ่มขึ้นของการยกเลิกคำสั่งซื้อ พื้นที่ในการจัดเก็บสินค้าไม่เพียงพอเป็นช่วง ๆ อัตราการหมุนเวียนของสินค้าที่สำคัญระหว่างศูนย์กระจายสินค้าที่ความแปรปรวนสูง ความสัมพันธ์กับตัวแทนพ่อค้าคนกลางที่ลดลง มีสินค้าเสื่อมจำนวนมาก
การปรับปรุงการจัดการสินค้าคงคลัง การวิเคราะห์แบบ ABC กลุ่ม % ของสินค้าทั้งหมด % ของยอดขาย ระดับการให้บริการลูกค้า ระดับการให้บริการลูกค้าถ่วงน้ำหนัก A 5 70 98 68.6 B 10 20 90 18.0 C 65 85 8.5 อื่น ๆ - รวม 100 95.1 ตารางที่ 5-6 ระดับการให้บริการลูกค้าโดยใช้การวิเคราะห์แบบเอบีซี
เปอร์เซ็นต์ของยอดขาย 10% C 20% B 70% A เปอร์เซ็นต์ของยอดขาย ไม่มียอดขาย A 5% B 10% C 65% 20% เปอร์เซ็นต์ของประเภทสินค้า รูปที่ 5-6 การแยกประเภทสินค้าแบบเอบีซี
การพยากรณ์ Stock Keeping Units (SKUs) ทั้งองค์กร สายผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท Stock Keeping Units (SKUs) ศูนย์กลางการกระจายสินค้า สาขา/ศูนย์กระจายสินค้าในแต่ละพื้นที่ การกระจายสินค้าผ่านศูนย์กระจายสินค้า การใช้ตัวแบบ การพยากรณ์กระจายทั้งระบบ ตัวแบบการพยากรณ์ การพยากรณ์ รูปที่ 5-7 รูปแบบของการพยากรณ์โดยรวม