25/02/62 Equality Human dignity Human Rights Pitak kerdhom
สังคมไทยเป็นสังคมแห่ง การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และทุกคนเสมอภาคกัน
สิทธิมนุษยชน เป็น สิ่งจำเป็น สำหรับคนทุกคนที่ต้องได้รับใน ฐานะเป็นคน ซึ่งทำให้คนๆนั้น มีชีวิตอยู่รอดได้อย่างมีความเหมาะสมแก่ความเป็นคนและสามารถพัฒนาตนเองได้
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฎิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรี ปฏิญญาสากล กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิแรงงานอพยพและสมาชิกครอบครัว อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฎิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การให้คุณค่าหรือความสำคัญของคน ตามหลักสิทธิมนุษยชน คุณค่าของคนตามธรรมชาติของมนุษย์ ขึ้นอยู่กับความเป็นมนุษย์ โดยไม่คำนึงถึงฐานะ และ ตำแหน่งทางสังคม
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การให้คุณค่าของมนุษย์ในสังคม คุณค่าของคนในฐานะตามธรรมชาติของมนุษย์ คุณค่าของคนตามฐานะตำแหน่งทางสังคม ฐานะทางเศรษฐกิจ บทบาททางสังคม สถานภาพทางสังคม การดำรงตำแหน่งสังคม
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มนุษย์ทุกคนมี “คุณค่า” และ “ศักดิ์ศรี” เท่าเทียมกัน ไม่ว่าเขาคนนั้นจะมียศ ตำแหน่ง ฐานะใดก็ตาม 7
หมายถึง การปฏิบัติต่อบุคคลอย่างเหมือนกัน และ อย่างเท่ากัน ความเสมอภาค ความเข้าใจทั่วไป หมายถึง การปฏิบัติต่อบุคคลอย่างเหมือนกัน และ อย่างเท่ากัน 8
การห้ามการเลือกปฏิบัติ ความเสมอภาค และ การห้ามการเลือกปฏิบัติ 10
สาระของความเสมอภาค และการห้ามการเลือกปฏิบัติ(มาตรา ๓๐) สาระของความเสมอภาค และการห้ามการเลือกปฏิบัติ(มาตรา ๓๐) ความเสมอภาคทางกฎหมาย สิทธิเท่าเทียมของหญิงและชาย ห้ามเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมเพราะความแตกต่างในเรื่อง - ถิ่นกำเนิด - เชื้อชาติ - ภาษา - เพศ - อายุ - ความพิการ - สภาพทางกาย หรือสุขภาพ - สถานะของบุคคล - ความเชื่อทางศาสนา - ฐานะทางเศรษฐกิจ - ความคิดเห็นทางการเมือง - การศึกษาอบรม การมีมาตรการเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลได้รับสิทธิ
การแบ่งแยก การกีดกัน การจำกัด การเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม การแบ่งแยก การกีดกัน การจำกัด เพื่อไม่ให้บุคคลได้รับสิทธิหรือได้ใช้สิทธิอันพึงมีพึงได้ในฐานะมนุษย์
ขอบคุณค่ะ
3. การไม่เลือกปฏิบัติ
การไม่เลือกปฏิบัติ (Non -Discrimination) การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่าง ในเรื่อง ถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกาย หรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง จะกระทำไม่ได้ การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม ในการเข้าถึงสิทธิที่รัฐจะจัดให้คนบางกลุ่มที่ด้อยโอกาสซึ่งยากต่อการเข้าถึงสิทธิมากกว่าคนปกติทั่วไป เช่น คนยากจน พิการ เด็ก สตรี เป็นต้น ไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติ
ขอบเขตของสิทธิมนุษยชน สิทธิจึงเป็นเรื่องใกล้ตัวเราครอบคลุมทุกเรื่องในสังคม สิทธิพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางวัฒนธรรม สิทธิทางเศรษฐกิจ สิทธิ ทางสังคม
ฅนเห็นคนเป็นคนนั่นแหละคน ฅนเห็นคนใช่คนใช่คนไม่ กำเนิดฅนย่อมเป็นฅนทุกคนไป จะยากจน ผู้ดีไพร่ ล้วนก็คน