หลักการและวิธีการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
บทที่ 6 งบประมาณ.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การบริหารงานคลังสาธารณะ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Supply Chain Management
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการและวิธีการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต สำนักงบประมาณ 22 มกราคม 2546 สำนักงบประมาณ

ต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ต้นทุน (Cost) หมายถึง ทรัพยากรหรืองบประมาณ (Inputs) ซึ่งได้แก่ค่าใช้จ่าย ทั้งหมด(Expenses)ที่ใช้ในกระบวนการ กิจกรรมต่างๆ (Process) เพื่อก่อให้เกิดผลผลิต (Outputs) ต้นทุน กระบวนการผลิต ผลผลิต Inputs Process Outputs ทรัพยากร งบประมาณ กิจกรรมต่างๆ สินค้า / บริการ สำนักงบประมาณ

องค์ประกอบของต้นทุน (จำแนกตามมิติต่างๆ) ต้นทุนทางตรง + ต้นทุนทางอ้อม (จำแนกเพื่อการควบคุมและวัดผลการปฏิบัติงาน) ต้นทุนรวม ต้นทุนคงที่+ต้นทุนผันแปร (จำแนกตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงต้นทุนตามปริมาณการผลิต) วัตถุดิบ + ค่าแรง + ค่าใช้จ่ายการผลิต (จำแนกตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์) ค่าแรง + ค่าวัสดุ +ค่าลงทุน (งบบุคลากร + งบดำเนินงาน + งบลงทุน) สำนักงบประมาณ

ต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต แนวคิดในการคำนวณต้นทุน ต้องสะท้อนต้นทุนที่แท้จริงโดยการรวบรวมต้นทุนทั้งหมด (Total Cost) ที่เกิดขึ้นจากการผลิตไว้ในสินค้าและบริการที่ผลิตได้ โดยครอบคลุมทุกแหล่งเงิน ทั้งในส่วนที่เป็นต้นทุนเงินสด (Cash Cost) และไม่ใช่ต้นทุนเงินสด (Non-cash Cost) คำนวณเป็นต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตได้ ต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) = ต้นทุนรวมของผลผลิต ปริมาณผลผลิต สำนักงบประมาณ

ต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต แนวทางในการคำนวณต้นทุน คำนวณต้นทุนรวม (Total Cost) จากค่าใช้จ่าย 5 งบ ได้แก่ 1. งบบุคลากร 2. งบดำเนินงาน 3. งบลงทุน 4. งบเงินอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น โดยคำนวณจาก หน่วยต้นทุน (Cost Center) หมายถึง หน่วยงานใดๆที่มีปริมาณบริการที่วัดได้ เป็น ผลงานของตนเอง มีการใช้ต้นทุน เช่น ค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าลงทุนชัดเจน แบ่งออกเป็น 1. หน่วยต้นทุนหลัก (Functional Cost Center) หมายถึง หน่วยงานย่อยของ ส่วนราชการที่ทำหน้าที่จัดทำผลผลิตที่ออกสู่ภายนอกหน่วยงาน และต้นทุนดังกล่าว จะถูกจัดเป็น ต้นทุนทางตรง 2. หน่วยสนับสนุน (Support Center) หมายถึงหน่วยงานย่อยของส่วนราชการ ที่ทำหน้าที่สนับสนุนหน่วยผลิตหลักให้สามารถจัดทำผลผลิตได้ ได้แก่ งานธุรการ งานการเงิน งานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ งานบริหารบุคคล เป็นต้น และต้นทุน ดังกล่าวจะถูกจัดเป็น ต้นทุนทางอ้อม สำนักงบประมาณ

การคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตของหน่วยงาน เป้าหมายยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการ(สาธารณะ) แผนงาน ผลผลิตของหน่วยงาน กระบวนการ (กิจกรรมหลัก) งาน ต้นทุนทางตรง ต้นทุนทางอ้อม + หน่วยต้นทุนหลัก หน่วยสนับสนุน งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบรายจ่ายอื่น งบเงินอุดหนุน และงบลงทุน สำนักงบประมาณ

เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการ(สาธารณะ) ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ระดับชาติ ขั้นตอนที่ 1 กำหนดผลผลิตที่ต้องการคำนวณ โดยผลผลิตดังกล่าวต้องผ่านการพิจารณาร่วมกันระหว่างส่วนราชการและสำนักงบประมาณแล้วว่ามีความสอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการและเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ และเป็น ผลผลิตที่ประชาชนต้องการ เป้าหมายการให้บริการ(สาธารณะ) ผลผลิต ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย สำนักงบประมาณ

ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 2 กำหนดโครงสร้างการคำนวณต้นทุนตามวัตถุประสงค์ของการนำข้อมูลต้นทุนไปใช้งาน โดยวัตถุประสงค์ ของการใช้ข้อมูลจะเป็นตัวกำหนดหน่วยคิดต้นทุน (Cost Object) ความซับซ้อนของระบบการคิดต้นทุน และข้อกำหนดต่างๆ หน่วยคิดต้นทุน มีหลายลักษณะขึ้นกับสิ่งที่ จะคำนวณ เช่น หน่วยงาน งาน/โครงการ ผลผลิต กิจกรรมหลัก หลักสูตร สินค้า/บริการ เป็นต้น หน่วยงาน งาน/โครงการ หน่วยคิด ต้นทุน ปี 2547 ผลผลิต กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก ต้นทุนเงินสดและต้นทุนที่ไม่ใช่เงินสด* ต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร * การจัดทำงบประมาณ ปี2547 : - กำหนดหน่วยคิดต้นทุนที่ระดับกิจกรรมหลัก ของการนำส่งผลผลิต - คำนวณเฉพาะต้นทุนเงินสด - ยังไม่คำนวณงบลงทุนไว้ในกิจกรรมหลักและ ผลผลิต ต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบรายจ่ายอื่น งบเงินอุดหนุนและงบลงทุน* โครงสร้างการคำนวณ ความซับซ้อนของระบบการคิดต้นทุนและข้อกำหนดต่างๆ ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย สำนักงบประมาณ

ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 3 เลือกวิธีการคำนวณต้นทุน และเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนที่เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เทคนิควิธีการคำนวณต้นทุน*ได้แก่ 1. ต้นทุนคิดเข้างาน (Absorption Costing) 2. ต้นทุนงานสั่งทำ (Job Costing) 3. ต้นทุนมาตรฐาน (Standard Costing) 4. ต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing) 5. ต้นทุนแบบกระบวนการ(Process Costing) 6. ต้นทุนเป้าหมาย (Target Costing) ส่วนราชการเป็นผู้ตัดสินใจเลือกเทคนิควิธีการคำนวณ โดยมีสำนักงบประมาณเป็นผู้ให้คำปรึกษา ทั้งนี้ประโยชน์จากการพัฒนาระบบต้นทุนจะต้องมากกว่าต้นทุนในการนำระบบไปใช้ (Benefits > Cost) * ยังไม่ดำเนินการในปี 2547 หน่วยคิด ต้นทุน ปี2547 ผลผลิต กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก วิธีการคำนวณต้นทุน ปี 2547จะใช้วิธีคำนวณต้นทุนผลผลิตจากกิจกรรมหลัก ของการจัดทำผลผลิต ตามวิธีคำนวณในขั้นตอนที่5 ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย สำนักงบประมาณ

ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 4 ออกแบบระบบการคำนวณต้นทุนตามเทคนิควิธีการที่เลือก เตรียมความพร้อมในเรื่องบุคลากร เครื่องมือและแหล่งข้อมูลสำหรับการคำนวณต้นทุน ศึกษา ข้อจำกัดและกำหนดข้อสมมติฐานในการคำนวณ ในปีเริ่มต้นของระยะเปลี่ยนผ่าน(ปี2546-2547) อยู่ในช่วงการสร้างฐาน ข้อมูลสำหรับการคำนวณต้นทุนทั้งข้อมูลด้านการเงินและไม่ใช่ด้านการเงิน โดย ส่วนราชการเป็นผู้บันทึกและรวบรวมข้อมูล สำนักงบประมาณเป็นผู้ให้คำแนะนำทั้งในเรื่องเทคนิคการคำนวณและการสร้างฐานข้อมูล ทั้งนี้ส่วนราชการจะต้องมีรูปแบบการบันทึกข้อมูลต้นทุนของตนเองหรือ ผังบัญชี (Chart of Account) ซึ่งสอดคล้องกับผังบัญชีแม่บทของกรมบัญชีกลางและเมื่อระบบฐานข้อมูลงบประมาณ (BIS:Budget Information System) และการติดตามประเมินผล (EVMIS) และระบบฐานข้อมูลของกระทรวงการคลัง(FMIS)เสร็จสมบูรณ์จะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลจากส่วนราชการเข้าในทุกระบบของฐานข้อมูล งบประมาณ สำนักงบประมาณ

ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 5 วิธีการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายต่อผลผลิต (ปี 2547 คำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตจากกิจกรรมหลักของการจัดทำผลผลิต) ระบุผลผลิตทั้งหมดที่ส่วนราชการจัดทำ(เชิงปริมาณ)ที่สอดคล้องกับ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวงและยุทธศาสตร์ของรัฐบาล ทบทวนหรือกำหนดกิจกรรมหลักๆที่สำคัญในการจัดทำผลผลิตโดยพิจารณาเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวข้องโดยตรงหรือจำเป็นต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน ระบุต้นทุนผลผลิตทั้งหมดของส่วนราชการ ซึ่งประกอบด้วย งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบรายจ่ายอื่น งบเงินอุดหนุน และงบลงทุน*ประเภท ครุภัณฑ์ และการปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง หมายเหตุ : * การนำงบลงทุน มารวมไว้ในต้นทุนของกิจกรรมหลักและต้นทุนผลผลิต มีจุดประสงค์ เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มค่าใช้จ่ายในการลงทุนระยะยาว ( การจัดทำงปม.ปี 47 จะยังไม่รวมงบลงทุนไว้ในต้นทุนของกิจกรรมหลักและต้นทุนผลผลิต) สำนักงบประมาณ

ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 5 วิธีการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายต่อผลผลิต (ต่อ) จัดสรรต้นทุนทางตรง โดยการกระจายต้นทุนของหน่วยผลิตหลักทั้งหมดไปสู่กิจกรรมหลักตามต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง หากเกี่ยวข้องในหลายกิจกรรมให้กระจายตามน้ำหนักงาน ปันส่วนต้นทุนทางอ้อมหรือต้นทุนทั้งหมดของหน่วยสนับสนุนใน 3 ลักษณะ คือ 1) ปันส่วนให้กับหน่วยต้นทุนหลักก่อนปันส่วนให้กิจกรรมหลัก 2) ปันส่วนให้กิจกรรมหลักโดยตรง 3) ปันส่วนให้ผลผลิตโดยตรง รวมต้นทุนทางตรง และต้นทุนทางอ้อม จากกิจกรรมหลักลงสู่ผลผลิต คำนวณต้นทุนผลผลิตต่อหน่วย (ต้นทุนผลผลิตรวม/จำนวนผลผลิต) สำนักงบประมาณ

การกระจายต้นทุนทางตรงและการปันส่วนต้นทุนทางอ้อม ตัวอย่าง การกระจายต้นทุนทางตรงและการปันส่วนต้นทุนทางอ้อม หน่วยงาน ผลผลิตที่ 3 ผลผลิตที่ 2 ผลผลิตที่1 หน่วยต้นทุนหลัก กิจกรรมที่ ก กิจกรรมที่ ข หน่วยสนับสนุน กิจกรรมที่ ค วิธีที่ 1 สำนักงบประมาณ

ตัวอย่าง การกระจายต้นทุนทางตรงและการปันส่วนต้นทุนทางอ้อม หน่วยงาน ผลผลิตที่ 3 ผลผลิตที่ 2 ผลผลิตที่1 หน่วยต้นทุนหลัก กิจกรรมที่ ก กิจกรรมที่ ข หน่วยสนับสนุน กิจกรรมที่ ค วิธีที่ 2 สำนักงบประมาณ

ตัวอย่าง การกระจายต้นทุนทางตรงและการปันส่วนต้นทุนทางอ้อม หน่วยงาน ผลผลิตที่ 3 ผลผลิตที่ 2 ผลผลิตที่1 หน่วยต้นทุนหลัก กิจกรรมที่ ก กิจกรรมที่ ข หน่วยสนับสนุน กิจกรรมที่ ค วิธีที่ 3 สำนักงบประมาณ

ต้นทุน/คชจ. ผลผลิตที่1ต่อหน่วย ต้นทุน/คชจ.ผลผลิตที่2ต่อหน่วย หน่วยงาน ต้นทุนทางอ้อม ต้นทุนทางตรง หน่วยสนับสนุนที่2 หน่วยสนับสนุนที่1 วิธีที่ 1 หน่วยต้นทุนหลักที่2 หน่วยต้นทุนหลักที่1 วิธีที่ 2 วิธีที่ 3 กิจกรรมที่5 ผลผลิตที่1 ผลผลิตที่2 หารปริมาณผลผลิตที่1 หารปริมาณผลผลิตที่2 ต้นทุน/คชจ. ผลผลิตที่1ต่อหน่วย ต้นทุน/คชจ.ผลผลิตที่2ต่อหน่วย สำนักงบประมาณ

การใช้ประโยชน์จากข้อมูลต้นทุนผลผลิต การคำนวณต้นทุนผลผลิตมีส่วนช่วยปรับปรุงข้อมูลทางการเงินของภาครัฐ ซึ่งมุ่งเน้นในเรื่องการนำส่งผลผลิตที่มีคุณภาพ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทางนโยบายและผลลัพธ์ของชาติ เพื่อผู้บริหารใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ ติดตามผลด้านงบประมาณ : การมีระบบการคำนวณต้นทุนที่ดีจะช่วยให้สามารถติดตามค่าใช้จ่ายที่สูงหรือต่ำกว่าวงเงินงบประมาณที่กำหนดได้ เพื่อหน่วยงานใช้รายงานผลในเรื่องต้นทุนในการนำส่งผลผลิตแก่หน่วยงาน เจ้าสังกัด เพื่อใช้ประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า สำหรับจัดเตรียมงบประมาณได้ตรงตามความต้องการการใช้ทรัพยากรของหน่วยงาน เป็นข้อมูลสำหรับการจัดสรรงบประมาณภายในองค์กร เอื้อต่อการวิเคราะห์ทางด้านการเงิน สำหรับองค์กรนำไปใช้ปรับปรุงกระบวนการและการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดทำผลผลิตต่อไป ใช้ในการเปรียบเทียบ(Benchmarking)ในผลผลิตที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ใช้เป็นข้อมูลการกำหนดราคาเป้าหมายเพื่อการจัดสรรงบประมาณ สำนักงบประมาณ

ข้อกำหนดในการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 ข้อกำหนดในการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 1. คำนวณจากกิจกรรมหลักที่ใช้ในกระบวนการนำส่งผลผลิตของหน่วยงาน ซึ่งเป็นผลผลิตที่สอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการและเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ 2. คำนวณเฉพาะต้นทุนเงินสด 3. ใช้ข้อมูลรายจ่ายจริงของปีงบประมาณที่ผ่านมา หรือหาค่าเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี 4. คำนวณเฉพาะค่าใช้จ่ายในลักษณะงบบุคลากร และงบดำเนินงาน เท่านั้น ไม่รวมงบลงทุนและงบเงินอุดหนุนรายการ Administered Items 5. ครอบคลุมทุกแหล่งเงิน : เงินงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณ สำนักงบประมาณ