ไฟ ความหมายของคำว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ของเชื้อเพลิง ทำปฏิกิริยารวมตัวกับออกซิเจน จนเกิดความร้อนสะสมขึ้นอย่างมากมาย จนทำให้อะตอมของเชื้อเพลิง แยกตัวออกเป็นอนุเล็กๆ จนถึงขั้นเกิดการลุกไหม้ เป็นเปลวไฟ
ภยันตรายที่เกิดจากไฟ ให้แก่ชีวิต ทรัพย์สิน อัคคีภัย ความหมายของคำว่า ภยันตรายที่เกิดจากไฟ ที่เกินการควบคุม และลุกลามต่อเนื่อง สร้างความเสียหาย ให้แก่ชีวิต ทรัพย์สิน และสภาพแวดล้อม
อัคคีภัย สาเหตุของการเกิด 1. ธรรมชาติ 2. การกระทำของมนุษย์
ความรุนแรงและผลกระทบ อัคคีภัย ความรุนแรงและผลกระทบ 1. มนุษย์ 2. สังคม 3. เศรษฐกิจ 4. สิ่งแวดล้อม
ของแข็ง / ของเหลว / ก๊าซ สามเหลี่ยมของไฟ อุณหภูมิ ที่ทำให้เชื้อเพลิงคายไอ ปริมาณออกซิเจน 16-21% ความร้อน ออกซิเจน การสันดาบ หรือ การเผาไหม้ (COMBUSTION) คือ ปฏิกิริยาเคมี ที่เกิดจากการรวมตัวของเชื้อเพลิง ซึ่งเป็นผลให้เกิดความร้อน และ แสงสว่าง กับสภาพการเปลี่ยนแปลง ไฟจะเกิดขึ้นได้ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 อย่าง หรือ เรียกว่า ทฤษฎีสามเหลี่ยมของไฟ คือ 1.เชื้อเพลิง 2.ความร้อน 3.ออกซิเจน เชื้อเพลิง ของแข็ง / ของเหลว / ก๊าซ
FLAME HEAT FIRE GAS SMOKE
(National Fire Protection Associetion) ประเภทของไฟ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ตามมาตรฐาน NFPA (National Fire Protection Associetion)
เชื้อเพลิงเหลวและก๊าซ B ประเภทของไฟ เชื้อเพลิงธรรมดา A เชื้อเพลิงเหลวและก๊าซ B อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีกระแสไหลอยู่ C โลหะและสารเคมีที่เป็นโลหะ D
ประเภทของไฟ มี 4 ประเภท 1.ไฟประเภท เอ มีสัญลักษณ์เป็น รูปตัว A สีขาวหรือดำ อยู่ในสามเหลี่ยมสีเขียวไฟประเภท A คือ ไฟที่เกิด จากเชื้อเพลิงที่มีลักษณะเป็นของแข็งเชื้อเพลิง ธรรมดา เช่นฟืน ฟาง ยาง ไม้ ผ้า กระดาษ พลาสติก หนังสติ๊ก หนังสัตว์ ปอ นุ่น ด้าย รวมทั้งตัวเราเอง วิธีดับไฟประเภท A ที่ดีที่สุด คือ การลดความร้อน (Cooling) โดยใช้น้ำ 21 NORMAL COMBUSTIBLES
2. ไฟประเภท บี มีสัญลักษณ์เป็นรูปตัว B สีขาว หรือดำ อยู่ในรูปสี่เหลี่ยม สีแดง ไฟประเภท B คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่มีลักษณะเป็น ของเหลวและก๊าซ เช่น น้ำมันทุกชนิด แอลกอฮอล์ ทินเนอร์ ยางมะตอย จารบี และ ก๊าซติดไฟทุกชนิด เป็นต้น วิธีดับไฟประเภท B ที่ดีที่สุด คือ กำจัดออกซิเจน ทำให้อับอากาศ โดยคลุมดับ ใช้ผงเคมีแห้ง ใช้ฟองโฟมคลุม 22
3 ไฟประเภท ซี มีสัญลักษณ์เป็นรูป C สีขาวหรือ ดำ อยู่ในวงกลมสีฟ้าไฟประเภท C คือ ไฟที่ เกิดจากเชื้อเพลิงที่มีลักษณะเป็นของแข็งที่มี กระแสไฟฟ้าไหลอยู่ เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้าทุก ชนิด การอาร์ค การสปาร์ค วิธีดับไฟประเภท C ที่ดีที่สุด คือ ตัดกระแสไฟฟ้า แล้วจึงใช้ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ น้ำยาเหลวระเหยที่ ไม่มี CFC ไล่ออกซิเจนออกไป 23
4. ไฟประเภท ดี มีสัญลักษณ์เป็นรูปตัว D สีขาว หรือดำ อยู่ในดาว 5 แฉก สีเหลืองไฟประเภท D คือไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่มีลักษณะเป็น โลหะและสารเคมีติดไฟ เช่น วัตถุระเบิด, ปุ๋ยยูเรีย (แอมโมเนียมไนเตรต), ผงแมกนีเซียม ลิเธียม ฯลฯ วิธีดับไฟประเภท D ที่ดีที่สุด คือ การทำให้อับ อากาศ หรือใช้สารเคมีเฉพาะ (ห้ามใช้น้ำเป็น อันขาด) ซึ่งต้องศึกษาหาข้อมูลแต่ละชนิดของ สาร เคมีหรือโลหะนั้นๆ 24
1.การนำความร้อน (Conduction) การติดต่อลุกลาม 1.การนำความร้อน (Conduction) 2.การพาความร้อน (Convection) 3.การส่งรังสีความร้อน (Radiation) 4.การกระเด็นหรือลอยไปตกของลูกไฟ
การติดต่อลุกลาม 1. การนำความร้อน CONDUCTION
การติดต่อลุกลาม 2. การพาความร้อน CONVECTION
การติดต่อลุกลาม 3. การแผ่รังสีความร้อน (RADIATION)
4. ลูกไฟที่กระเด็นหรือลอยไปตก การติดต่อลุกลาม 4. ลูกไฟที่กระเด็นหรือลอยไปตก
วิธีการดับเพลิง ประเภทต่างๆ
การตัดปฏิกริยาลูกโซ่ วิธีการดับเพลิง 1 การลดอุณหภูมิ 2 การทำให้อับอากาศ การขจัดเชื้อเพลิง 3 4 การตัดปฏิกริยาลูกโซ่
เครื่องดับเพลิงชนิดน้ำ บรรจุด้วย - น้ำประมาณ 9.5 ลิตร - ใช้แรงดันจากอากาศ(ลม),ก๊าซไนโตรเจน หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ - อัดด้วยความดันลมที่ 100 - 150 Psi (นิยมบรรจุในถังสแตนเลส ต่างประเทศบรรจุถังกันสนิมสีแดง) บรรจุน้ำอยู่ในถังแล้วอัดแรงดันลมเข้าไปดันน้ำที่ผสมเคมีในถัง จึงเรียกว่า น้ำสะสมแรงดัน
เครื่องดับเพลิงโฟมเคมี Chemical Foam บรรจุด้วยน้ำผสมเคมีชนิดหนึ่งชนิดใด ดังนี้ - โปรตีนโฟม 3-5 % - โฟมต้านแอลกอฮอล์ ARC - โฟมสังเคราะห์ FFFFP - โฟมสังเคราะห์ AFFF (Aqueous Film Forming Foam) ส่วนประกอบที่สำคัญ คือ สารฟลูออไรด์ (Fluoride) และสารทำให้ฟองโฟม คงทน (Fluorinated Surfactants Plus Foam Stabilizers)
โฟมเคมีชนิดต่าง ๆ โฟมชนิดธรรมดา (Regular foam) - โปรตีนโฟม Fluoroprotein foam concentrate - โฟมสังเคราะห์ Synthetic foam concentrate - AFFF (Aqueous Film Forming Foam agent) - FFFFP (Film Forming Fluoroprotein Foam) บางที่เรียก FFFP โฟมชนิดที่ทนต่อแอลกอฮอล์ (Alcohol resistant foam ) - AFFF + ARC (Aqueous Film Forming Foam agent – Alcohol Resistant Concentrate) - FFFFP (Film Forming Fluoroprotein Foam – Alcohol Resistant Concentrate)
เครื่องดับเพลิงชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ Carbondioxide underpressure หรือ CO2 บรรจุด้วย - CO2 อัดที่ความดัน 800 - 900 psi - ถังทนความดันได้ไม่ต่ำกว่า 3,375 psi คุณสมบัติ - เป็นก๊าซเฉื่อย หนักกว่าอากาศ 1.5 เท่า - ก๊าซที่ออกมาเย็นจัด กลายเป็นน้ำแข็งแห้ง 30 % ที่ปลายสายฉีดจะมีลักษณะเป็นกระบอกหรือกรวย เวลาฉีดดับเพลิงจะมีเสียงดังเล็กน้อยพร้อมกับพ่นหมอกหิมะออกมาไล่ความร้อน และออกซิเจนออกไป ควรใช้ภายในอาคารที่ต้องการความสะอาดโดยฉีดเข้าใกล้ฐานของไฟให้มากที่สุด ประมาณ 1.5 - 2 เมตร เมื่อใช้งานแล้วไม่มีสิ่งสกปรกหลงเหลือ
เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง Dry Powder Or Dry Chemical. บรรจุด้วย - โซเดียมไบคาร์บอเนต ,โปตัสเซียมไบคาร์บอเนต, โปตัสเซียม คลอไรด์ หรือโมโนแอมโมเนียมฟอสเฟต - อัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ก๊าซไนโตรเจน - สารกันชื้นป้องกันการจับตัวของผงเคมี (แมกนีเซียมสเตียเรท) ถ้ามีโปตัสเซียมประกอบ เรียก Purple K
เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง Dry Powder Or Dry Chemical. Na 2CO3 โซเดียมไบคาร์บอเนต K 2CO3 โปตัสเซี่ยมไบคาร์บอเนต K ClO2 โปตัสเซี่ยมคลอไรด์ Na H CO3 โมโนโซเดียมคาร์บอเนต NH4 H PO3 แอมโมเนียฟอสเฟต
เครื่องดับเพลิงชนิด HALON ,BCF บรรจุด้วย - สารประกอบ Halogenated โดยมีสารเข้าไปแทนที่ ออกซิเจน เป็นสารประกอบพวกไฮโดรคาร์บอน เช่น (ฟลูออรีน F , คลอรีน Cl โบรมีน Br) - ก๊าซไนโตรเจน ความดัน 40 psi. ที่ 70 F จุดเดือดต่ำ 25 F / จุดเยือกแข็ง - 256 F ความหนาแน่นไอสูง หนักกว่าอากาศ 5 เท่า ปัจจุบันองค์การสหประชาชาติประกาศให้เลิกผลิตพร้อมทั้งให้ทุกประเทศลด ละ การใช้จนหมดสิ้น เพราะเป็นสารที่ทำลายสิ่งแวดล้อมโลก บางประเทศถือว่าเป็นสิ่งผิดกฎหมาย ปัจจุบันใช้น้ำยาเหลวระเหยที่ไม่มีสาร CFC
เครื่องดับเพลิงชนิด HALON , BCF Halogenate Hydrocarbon BCF Halon 1211 Bromo Chloro di Fluoro Methane CBF Halon 1301 Bromo tri Fluoro Methane
ภาวะเรือนกระจก Greenhouse Effect CFC Chlorine Carbon Fluorine ภาวะเรือนกระจก Greenhouse Effect UNEP
แอมโมเนียมฟอสเฟต ผสม แอมโมเนียมซัลเฟต อนาคตจะมี แอมโมเนียมฟอสเฟต ผสม แอมโมเนียมซัลเฟต Ammonium Phosphate + Ammonium Sulphate ดับไฟได้ทั้ง ABC และ D ปัจจุบัน Halotron หรือ Clean Agent ทดแทน Halon,BCF
เครื่องดับเพลิงชนิดผงแห้ง DRY POWDER ชนิดซิลิก้า มาจากทรายแห้ง ชนิดเม็ด (G1) ทำจากสารประกอบกราไฟท์กับฟอสฟอรัส Granular Graphite with Compounds Of Phosphorus ชนิดผง ประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์เป็นหลัก Sodium Chloride Base มีชื่อย่อว่า MET-L-X ชนิดผงกราไฟท์ มีกราไฟท์เป็นหลัก Fine Graphite Base มีชื่อเรียกว่า Light - X ผงไบคาร์บอเนต Bicarbonate Base มีชื่อเรียกว่า Met-L-Kyl ผงถ่าน , ขี้เถ้า Carbon Powder
ภาพแสดงเกจ์วัดแรงดันเครื่องดับเพลิง 195 195 ใช้ได้ ใช้ไม่ได้ เข็มอยู่ด้านซ้าย เข็มอยู่ด้านขวา
การใช้เครื่องดับเพลิง 2.ปลด 1.ดึง 4.ส่าย 3.กด
การใช้และการบำรุงรักษาเครื่องดับเพลิง การติดตั้ง ควรติดตั้งพื้นที่ที่หยิบฉวยได้สะดวก โดยไม่มีสิ่งกีดขวางและไม่วางชิดกับแหล่งเชื้อเพลิงจนเกินไป ติดตั้งสูงจากพื้น 1 - 1.40 เมตร หากติดตั้ง ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป แต่ละเครื่องต้องมีระยะห่างไม่เกิน 20 เมตร การติดตั้งในพื้นที่ 100 ตารางเมตรต่อ 1 เครื่อง หรือ ทุกระยะ 20 เมตร ต่อ 1 เครื่อง 67
ข้อควรระวัง ในกรณีฉีดดับเพลิงจำพวกน้ำมัน หรือ ของเหลวติดไฟ ห้ามจ่อหัวฉีดอยู่กับที่ความแรงจากการฉีดจะทำให้น้ำมันกระเด็น ลวกตัว หรือทำให้ดับเพลิงมิได้ ควรย่อตัวฉีดส่ายไป- มา ไม่ควรฉีดใช้กับในจุดหรือพื้นที่ที่ไม่ต้องการความสกปรก เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องคลีนรูม 68