รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
ฝ่ายอำนวยการ งานธุรการและงาน สารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานการเจ้าหน้าที่ งานสวัสดิการ งานนโยบายและที่รับ มอบหมาย ยิ้มงาม ถามไถ่ เต็มใจบริการ.
ส่งเสริมให้คำที่ปรึกษาและบริการความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
บริษัท จำกัด Logo company
ภาษา HTML5 Webpage Design and Programming Workshop ( )
HTML5 (Hypertext Markup Language 5)
โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
เรื่องน่ารู้ ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
การสร้างและใช้ QR code ย่อ Link และ Google Form
รายงานความก้าวหน้า งานบริหารและธุรการ
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
บริษัท จำกัด Logo company
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
การพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC)
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด จังหวัดสระบุรี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
นโยบาย กรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี ๒๕๕๙
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สวนรุกขชาติและศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
ซักซ้อมแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทน แนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2558 เวลา น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
แนวทางการปรับปรุงการทำงาน ด้านการส่งเสริมการผลิตข้าว ปีงบประมาณ 2561
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
การตรวจสอบย้อนกลับ TRACEABILITY
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
การประชุมตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1 (Project and Progress Reviews) วันจันทร์ที่
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
ประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอ (DM) ประจำเดือนเมษายน 2562
โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
“ ทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุน
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
นักท่องเที่ยวในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
เกษตรกร 4.0 กับ Application ส่งเสริมการผลิต
แนวทางการพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รูปภาพประกอบเกี่ยวกับ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล

สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูลอัตรากำลัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ 1. ข้าราชการ จำนวน 59 คน 1.1 เกษตรจังหวัด จำนวน 1 คน 1.2 หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย จำนวน 5 คน 1.3 เกษตรอำเภอ จำนวน 7 คน 1.4 นวส. จำนวน 33 คน (จังหวัด 15 คน อำเภอ 18 คน) 1.5 จพง.ธุรการ จำนวน 6 คน (จังหวัด 3 คน อำเภอ 3 คน) 1.6 จพง.การเงินและบัญชี จำนวน 1 คน

2. ลูกจ้างประจำ จำนวน 2 คน (พนักงานขับรถยนต์) 2. ลูกจ้างประจำ จำนวน 2 คน (พนักงานขับรถยนต์) 3. พนักงานราชการ จำนวน 16 คน นวส. 7 คน , จพง.ธุรการ/บันทึกข้อมูล 9 คน 4. ลูกจ้าง (ยาม,พนักงานทำความสะอาด) จำนวน 8 คน จังหวัด 2 คน / อำเภอ 6 คน

อัตรากำลัง (ว่าง) สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล อัตรากำลัง (ว่าง) สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล จำนวน 4 ตำแหน่ง 1. นวส.ชำนาญการพิเศษ จำนวน 2 ตำแหน่ง (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต/กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ) 2. นวส. จำนวน 1 ตำแหน่ง (กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร) เกษียณอายุราชการ ปี 2562 จำนวน 5 คน

๑. การเบิกจ่ายงบประมาณ

งบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูลได้รับงบประมาณทั้งสิ้น 13,065,838 บาท ประกอบด้วย 1. งบกรมส่งเสริมการเกษตร 9,878,988 บาท - งบอำนวยการ 4,930,048 บาท - งบลงทุน 359,800 บาท - งบโครงการ 4,589,140 บาท 2. งบพื้นที่ 2,967,700 บาท - งบพัฒนาจังหวัด 2,967,700 บาท 3. งบหน่วยงานบูรณาการ 219,150 บาท (เบิกแทนกรมการข้าว) ข้อมูล ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2562

(ข้อมูล ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2562 )

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ผู้รับการติดตาม นายสงกรานต์ หมานมานะ หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป ที่ กิจกรรม งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) ปัญหา/อุปสรรค หมายเหตุ 1. งบอำนวยการ 4,930,048.- 2,616,101 2,313,947 - 50.07% 2. งบลงทุน - ครุภัณฑ์ สนง.กษ.อ.ทุ่งหว้า - ปรับปรุง สนง.กษ.อ.ละงู 32,400.- 327,400 100% 3. งบตาม คง. เป้าหมายตามตัวชี้วัด 4,589,140.- 1,849 ราย 1,555,033.- 1,374 ราย 3,034,107.- 475 ราย 33.89% 74.31% อยู่ระหว่างดำเนินการ ข้อมูล ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2562

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) กิจกรรม งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) ปัญหา/อุปสรรค หมายเหตุ 4. งบประมาณจังหวัดสตูล 4.1 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ( 1 กิจกรรม) - อบรมเกษตรกร 350 ราย 4.2 โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรจังหวัดสตูล ( 6 กิจกรรม) - อบรมเกษตรกร 2,460 ราย 2,967,700.- 110,000.- 2,857,700.-   110,000.-  818,400.- -  2,039,300  ไม่มี ไม่มี  100 % 28.64 % ข้อมูล ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2562

งบประมาณที่ได้รับ (บาท) กิจกรรม งบประมาณที่ได้รับ (บาท) ผลการเบิกจ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) ปัญหา/อุปสรรค หมายเหตุ 5. โครงการนาแปลงใหญ่ (งบเบิกแทนกรมการข้าว) 219,150.- - 6. ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณจากเว็บไซต์กองคลัง กรมส่งเสริมการเกษตร ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 62 9,875,228.- 4,554,919.21 (46.12%) 4,320,308.79 ข้อมูล ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2562

1. แนวทางการดำเนินงานกรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2562

1. สนับสนุนการขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ส่งเสริมการทำเกษตรผสมผสาน/เศรษฐกิจพอเพียง 1) ส่งเสริมการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา (ต.ปูยู และ ต.เกาะสาหร่าย) ผลการดำเนินงาน ต.เกาะสาหร่าย มีแปลงเรียนรู้ จำนวน 15 ไร่ ให้เกษตรกรได้เรียนรู้ และเกษตรกรที่ผ่านการอบรมถ่ายทอดความรู้ จำนวน 30 ราย นำความรู้ไปปฏิบัติ ทั้งด้านเศรษฐกิจพอเพียงและการแปรรูปผลผลิต (ข้าวเกรียบ และน้ำพริก) ต.ปูยู - อบรมเกษตรกรหลักสูตรการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 30 ราย เมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 61 ณ โรงเรียนตันหยงกาโบยชัยพัฒนา ต.ปูยู อ.เมืองสตูล - จัดทำแปลงเรียนรู้เพื่อเป็นต้นแบบ จำนวน 15 ไร่ อยู่ระหว่างดำเนินการ

1. สนับสนุนการขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ส่งเสริมการทำเกษตรผสมผสาน/เศรษฐกิจพอเพียง 2) ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงขยายผลสู่การปฏิบัติ (ปีที่ 2) ผลการดำเนินงาน ปีที่ 1 เกษตรกรต้นแบบ จำนวน 5 ราย ได้รับการพัฒนาเป็นวิทยากรด้านเศรษฐกิจพอเพียง และมีแปลงเรียนรู้ให้เกษตรกรในพื้นที่ได้เข้ามาเรียนรู้ ปีที่ 2 - เกษตรกรต้นแบบ จำนวน 5 ราย ได้รับการถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีการผลิตพืชและอารักขาพืช และการเป็นวิทยากรด้านการอารักขาพืช เมื่อวันที่ 7 ก.พ. 62 ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 ต.ควนโดน อ.ควนโดน - จัดทำแปลงเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 2 แปลง ในพื้นที่ อ.ควนกาหลง และ อ.เมือง อยู่ระหว่างดำเนินการ

1. สนับสนุนการขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ส่งเสริมการทำเกษตรผสมผสาน/เศรษฐกิจพอเพียง 3) เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ผลการดำเนินงาน - โรงเรียน ตชด. จำนวน 2 โรง ได้แก่ โรงเรียน ตชด.บ้านส้านแดง และโรงเรียน ตชด.ยูงทองรัฐประชาสรรค์ อ.ควนกาหลง มีแปลงผลิตพืชอาหารสำหรับบริโภค ในโรงเรียน และเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชม - ชุมชนนำความรู้ไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวัน

1. สนับสนุนการขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ส่งเสริมการทำเกษตรผสมผสาน/เศรษฐกิจพอเพียง 4) การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน - วิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่และเกษตรกรรมยั่งยืนให้กับหน่วยงาน - ดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่และเกษตรกรรมยั่งยืน (5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง) - ทุกเวทีการเรียนรู้ ได้สอดแทรกองค์ความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรกรรมยั่งยืนให้กับเกษตรกร - อยู่ระหว่างรอการจัดสรรงบประมาณจากกรมส่งเสริมการเกษตร

1. สนับสนุนการขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องการอนุรักษ์พันธุ์พืชท้องถิ่น 1) ส่งเสริมปลูกจำปาดะพันธุ์ดีเพื่ออนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - อบรมเกษตรกรผู้ปลูกจำปาดะ หลักสูตรเทคโนโลยีการผลิตจำปาดะคุณภาพและการขยายพันธุ์ จำนวน 7 รุ่น 350 ราย เมื่อเดือนธันวาคม 2561 2) ส่งเสริมการขึ้นทะเบียน GI จำปาดะ ขณะนี้อยู่ระหว่างรอกรมทรัพย์สินทางปัญญา ประกาศขึ้นทะเบียน GI

2. เพิ่มประสิทธิภาพกลไกขับเคลื่อนงานในพื้นที่

(1) การใช้ระบบส่งเสริมการเกษตรเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนงานในพื้นที่ โดยใช้ระบบ T&V System เป็นเครื่องมือในปี 2562 จังหวัดสตูล

จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562

2. จัดทำแผนปฏิบัติงาน- แผนการใช้จ่ายประจำปีงบประมาณ 2562 สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล

3. การใช้เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (เวทีด้านวิชาการ Work shop) - เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับจังหวัด (Provincial Workshop : PW) - เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับอำเภอ (District Workshop : DW) 1. สร้างความรู้ความเข้าใจนโยบาย/แผนงานโครงการและแนวทางการปฏิบัติงานประจำปีของสานักงานเกษตรจังหวัด 2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้งานวิชาการเกษตรต่าง ๆ การแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร และปัญหาของเกษตรกร จัด PW + DW ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2561

4. จัดทำเป้าหมาย การขับเคลื่อนงาน ส่งเสริมการเกษตร จังหวัดสตูล ปี 2562 (จำนวน 28 โครงการ)

5. การเยี่ยมเยียน ทุกอำเภอจัดทำแผนการเยี่ยมเยียน เยี่ยมเยียนและสรุปผลการเยี่ยมเยียน * งานตามภารกิจกรมส่งเสริมฯ * งานตามนโยบายกระทรวงฯ

6. การประชุมเพื่อการบริหาร (Meeting) - ประชุมสำนักงานเกษตรจังหวัดประจำเดือน ติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนงานโครงการส่งเสริมการเกษตร งานตามนโยบายและบริหารจัดการแผนงานโครงการของหน่วยงาน

- ประชุมเกษตรอำเภอประจำเดือนทุกเดือน ติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนงานโครงการส่งเสริมการเกษตร งานตามนโยบาย ของสำนักงานเกษตรอำเภอ บริหารจัดการแผนงานโครงการระดับจังหวัด และแก้ไขปัญหาการดำเนินงาน

- ประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอประจำเดือน - ประชุมเจ้าหน้าที่ประจำสัปดาห์ของสำนักงานเกษตรอำเภอ . ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย/วางแผนการทำงาน ขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร แลกเปลี่ยนเรียนรู้และแก้ไขปัญหาในพื้นที่

7. เวทีเฉพาะกิจต่างๆ * พัฒนาบุคลากรด้านระบบสารสนเทศ จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์ (เว็บไซต์) ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัดและอำเภอ เมื่อวันที่ 3 – 4 ตุลาคม 2561

8. ติดตามนิเทศงาน 8.1 จัดทำแผนติดตามนิเทศงาน ปีงบประมาณ 2562 จำนวน 6 ครั้ง ในเดือน พ.ย./ ม.ค./ มี.ค./ พ.ค./ ก.ค./ ก.ย.

8.2 ดำเนินการติดตามนิเทศงาน ดำเนินการแล้วจำนวน 2 ครั้ง โดยทีมนิเทศงาน ประกอบไปด้วย เกษตรจังหวัด และ หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย . ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 6 – 9 พฤศจิกายน 2561

ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 8 – 11 มกราคม 2562

9. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตร ตามเป้าหมายการขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร เช่น ติดตาม ทบก. และ วาดแปลง

ติดตามศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่

แปลงเรียนรู้การจัดการศัตรูพืช

10. สนับสนุน (Supporting) ดำเนินงาน โดย - สำรวจความต้องการของเจ้าหน้าที่ในด้านต่างๆ เช่น วัสดุอุปกรณ์/วิชาการ - วิธีการสำรวจผ่านแบบประเมินหลังการสัมมนา DW โดย ให้เจ้าหน้าที่สแกนแบบประเมินผ่านระบบ QR Code

- วางแผน/ดำเนินการสนับสนุน เช่น - วางแผน/ดำเนินการสนับสนุน เช่น * สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ทำงานในพื้นที่ เช่น แท็บเล็ต / อินเตอร์เน็ต / GPS

- วางแผน/ดำเนินการสนับสนุน เช่น - วางแผน/ดำเนินการสนับสนุน เช่น * สนับสนุนการใช้เครื่องมือและระบบสารสนเทศ ชี้แจงการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ์และขึ้นทะเบียนเกษตรกรโดยการใช้แอปพลิเคชั่น Doae Farmbook ผ่านเวที สัมมนาเชิงปฏิบัติส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ Dw /สนง.เกษตรอำเภอ

- วางแผน/ดำเนินการสนับสนุน เช่น - วางแผน/ดำเนินการสนับสนุน เช่น * วางแผนการให้ความรู้จากการประเมินความต้องการ ซึ่งผลจากการจัดสัมมนา DW ครั้งที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ต้องการความรู้ เช่น - ด้านพืช - การจัดการศัตรูพืช - การจัดการกลุ่ม - การเขียนโครงการ - การพัฒนาบุคลิกภาพ/การพูดในโอกาสต่างๆ

11. การจัดการข้อมูล - จัดทำข้อมูลการเกษตรประจำปี เก็บในฐานข้อมูลและรูปเล่ม - จัดเก็บข้อมูลการเกษตรไว้ในระบบสารสนเทศ เว็บไซต์สำนักงานเกษตรจังหวัด

11. การจัดการข้อมูล - จัดเก็บข้อมูลการเกษตรประจำปี ไว้ในศูนย์ข้อมูลสารสนเทศของจังหวัดสตูล (POC , MOC) - ให้บริการข้อมูลการเกษตร แก่หน่วยงานต่างๆ ที่มาขอใช้ข้อมูล แผนการพัฒนาเจ้าหน้าที่ - สัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล ให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ ในวันที่ 12 มีนาคม 2562

(๒) ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ได้แก่ 1. ปาล์มน้ำมัน 2 ศูนย์ ได้แก่ ศพก.อ.ทุ่งหว้า และ อ.มะนัง 2. ข้าว 4 ศูนย์ ได้แก่ ศพก.อ.เมืองสตูล อ.ละงู อ.ท่าแพ และ อ.ควนกาหลง 3. จำปาดะ 1 ศูนย์ (จำปาดะ) ได้แก่ ศพก.อ.ควนโดน โดยในพื้นที่ ศพก. 7 ศพก. มีแปลงใหญ่ทั้งหมด 30 แปลง

ผลการดำเนินงาน (Outcome) 1. แผนบูรณาการของ ศพก. แผนอบรมของ ศพก ผลการดำเนินงาน (Outcome) 1. แผนบูรณาการของ ศพก. แผนอบรมของ ศพก. จำนวน 7 ศพก. และแผนการจัด Field Day จำนวน 7 ศูนย์ ดังนี้ เดือนกุมภาพันธ์ 62 ศพก.อ.ทุ่งหว้า (26 ก.พ. 62) เดือนมีนาคม 62 ศพก.อ.มะนัง เดือนพฤษภาคม 62 ศพก.อ.ละงู เดือนกรกฎาคม 62 ศพก.อ.ท่าแพ อ.เมืองสตูล อ.ควนกาหลง และ อ.ควนกาหลง - ทำให้มีแผนการทำงานที่ชัดเจนในการบูรณาการทำงานของหน่วยงานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2. หน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สนับสนุนข้อมูล เอกสารวิชาการ - ทำให้ ศพก. มีความพร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้ และให้บริการเกษตรกร

ผลการดำเนินงาน (Outcome) 3. พัฒนาศักยภาพ ศพก. พร้อมบริการ. 3

ผลการดำเนินงาน (Outcome) 5. คัดเลือกศูนย์เครือข่ายของ ศพก

ผลการดำเนินงาน (Outcome) 6. ประชุมคณะกรรมการ ศพก

ผลการดำเนินงาน (Outcome) 8

ภาพกิจกรรม

ภาพกิจกรรม

โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จังหวัดสตูล มีแปลงใหญ่ทั้งหมด 30 แปลง เกษตรกร 2,242 ราย พื้นที่ 14,408 ไร่ 1) แปลงใหญ่ ปี 2559 จำนวน 3 แปลง 2) แปลงใหญ่ ปี 2560 จำนวน 18 แปลง 3) แปลงใหญ่ ปี 2561 จำนวน 6 แปลง 4) แปลงใหญ่ ปี 2562 จำนวน 3 แปลง ประกอบด้วย 1) ปาล์มน้ำมัน 13 แปลง 6) ลองกอง 1 แปลง 11) ปลาน้ำจืด 1 แปลง 2) ข้าว 6 แปลง 7) จำปาดะ 1 แปลง 3) มะพร้าว 3 แปลง 8) แพะ 1 แปลง 4) ยางพารา 1 แปลง 9) โคเนื้อ 1 แปลง 5) ทุเรียน 1 แปลง 10) กุ้งทะเล 1 แปลง

การเชื่อมโยงการตลาด / การสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้า แปลงใหญ่ ตลาด ข้าว จำหน่ายโรงพยาบาลสตูล โรงพยาบาลละงู บริษัทห้างหุ้นส่วนจำกัดเกียรติเจริญชัยการประมง โรงเรียนจำนวน 12 แห่ง( ต.กำแพง อ.ละงู จ.สตูล) โรงสีข้าวชุมชน และพ่อค้าคนกลาง ปาล์มน้ำมัน บริษัทปาล์มไทยพัฒนา จำกัด ลานเทและพ่อค้าคนกลาง ยางพารา ตลาดกลางหาดใหญ่และชุมนุมสหกรณ์กองทุนสวนยางสตูล จำกัด มะพร้าว พ่อค้าคนกลาง ไม้ผล ตลาดท้องถิ่น ตลาดต่างจังหวัด พ่อค้าคนกลาง (การขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ จำปาดะ อยู่ระหว่างดำเนินการ) โคเนื้อ ผู้ประกอบการจำหน่ายเนื้อสัตว์ ผู้บริโภค แพะ ผู้ประกอบการจำหน่ายเนื้อสัตว์ , ผู้บริโภค กุ้งทะเล ห้องเย็น และแพรับซื้อกุ้ง

ณ ปัจจุบัน มีงบประมาณบูรณาการของหน่วยงานในกระทรวงฯ จัดทำแผนปฏิบัติการบูรณาการโครงการฯ ปี 2562 กับหน่วยงานในกระทรวงเกษตรฯ ณ ปัจจุบัน มีงบประมาณบูรณาการของหน่วยงานในกระทรวงฯ ประมาณ 3,222,888 บาท

งบประมาณ 2,109,900 บาท เป้าหมาย 19 แปลง (แปลงปี 2560-62) กรมส่งเสริมการเกษตร งบประมาณ 2,109,900 บาท เป้าหมาย 19 แปลง (แปลงปี 2560-62) งาน/โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ (บาท) ผลความก้าวหน้าการดำเนินงาน จำนวน หน่วย งาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน ร้อยละ เบิกจ่าย 1. วิเคราะห์จัดเวที จัดทำแผน/ปรับปรุงข้อมูล 19 แปลง 73,000 ดำเนินการแล้ว 100 67,800 92.88 2. กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ 428,000 84.21 304,860 3. บริหารจัดการโครงการ 128,900 6.98 9,000 งวดที่ 1: ได้รับจัดสรรงบประมาณ 629,900 บาท เบิกจ่าย 381,660 บาท คิดเป็นร้อยละ 60.59

1.กิจกรรมวิเคราะห์จัดเวที จัดทำแผน/ปรับปรุงข้อมูล 2.กิจกรรมถ่ายทอดความรู้

3.กิจกรรมประชุมเครือข่ายคณะกรรมการแปลงใหญ่ ประชุมจำนวน 4 ครั้ง/ปี/อำเภอ แต่ละอำเภอดำเนินการแล้วจำนวน 1 ครั้ง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่ระดับอำเภอ ประชุมร่วมกับคณะกรรมการเครือข่าย ศพก.

โครงการติดตั้งระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อการเกษตร จังหวัดสตูลของบประมาณโครงการฯ จำนวน 3 แปลง แปลงใหญ่ปาล์มน้ำมัน ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล แปลงใหญ่มะพร้าว ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล แปลงใหญ่ปาล์มน้ำมัน ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

ปัญหาอุปสรรค/แนวทางแก้ไข 1.การเชื่อมโยงการตลาด : ตลาดรับซื้อผลผลิตแปลงใหญ่ไม่ต่อเนื่อง และบางแปลงใหญ่มีตลาดไม่ชัดเจน แนวทางแก้ไข 1) ประชาสัมพันธ์สินค้าแปลงใหญ่ให้เป็นที่รู้จัก รับรู้และรับทราบ 2) จัดหาคู่ค้าสินค้าที่ตลาดต้องการ 2. ความเข้มแข็งของกลุ่ม : กระบวนการกลุ่ม การบริหารงานของกลุ่มส่วนมากยังไม่เข้มแข็ง และขาดการบริหารจัดการที่เชื่อมโยงกันตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ต้องบูรณาการการสนับสนุนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่ม เพื่อให้บริหารจัดการผลผลิตและการดำเนินงานได้อย่างยั่งยืน

การเชื่อมโยงเครือข่าย ตัวอย่าง การ เชื่อมโยง เครือข่ายใน อำเภอละงู โดย สมาชิก ศพก. ได้รับการพัฒนา ให้เป็น SF/YSF ศพก. เป็นแหล่ง เรียนรู้ให้กับ สมาชิกแปลง ใหญ่ข้าว/ เกษตรกรทั่วไป ศูนย์บ่มเพาะ เกษตรกรรุ่น ใหม่ เป็น เครือข่าย ศพก. สมาชิกแปลง ใหญ่ข้าวได้รับ การพัฒนา ให้ เป็น YSF / SF SF ได้รับการ พัฒนาให้เป็น Smart Group

พัฒนา เชื่อมโยง ขยายผล

3. มุ่งเน้นการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในลักษณะตลาดนำการผลิต

3. มุ่งเน้นการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในลักษณะตลาด นำการผลิต 1. พัฒนาเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรให้มีแนวคิดเชิงธุรกิจ มุ่งเน้นการผลิตเชิงคุณภาพ 1) สนับสนุนเจ้าหน้าที่เข้าร่วมอบรมของหน่วยงานต่างๆ เช่น - เจ้าหน้าที่ จำนวน 5 ราย เข้าร่วมอบรมหลักสูตร ตลาดออนไลน์ ตามโครงการพัฒนาความรู้และทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำปี 2560 งบประมาณของ อบจ.สตูล - Future Doae จำนวน 2 ราย - หลักสูตร GAP/เกษตรอินทรีย์

3. มุ่งเน้นการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในลักษณะตลาด นำการผลิต 3.2 พัฒนาเกษตรกรให้มีขีดความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการ 1) พัฒนาเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตร (การจัดทำแผนการผลิตรายแปลง) สมาชิกแปลงใหญ่ จำนวน 30 แปลง 2,242 ราย จัดทำแผนการผลิตรายแปลงและปรับปรุงข้อมูลในระบบ ส่งเสริมเกษตรกรรมทางเลือก - เกษตรกรได้ปรับแนวคิดและจัดทำแผนผังแปลง/แผนการผลิต/ปฏิทินการปลูกพืชรายบุคคล 10 ราย - เกษตรกรได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติงานอาชีพระยะสั้น 10 ราย

ส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ไม้ผล) 3.2 พัฒนาเกษตรกรให้มีขีดความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการ 2) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ไม้ผล) โครงการ/กิจกรรม ปริมาณงาน งบประมาณ วิธีดำเนินการ ผลการดำเนินงาน บริหารงานตามยุทธศาสตร์ผลไม้ 1) ติดตามคาดคะเนสถานการณ์ผลไม้ระดับอำเภอ 2) ประชุมติดตามคาดคะเนสถานการณ์ผลไม้ระดับจังหวัด 3 ครั้ง 10,000 7,000 ประชุมจัดทำข้อมูล -การผลิต คาดคะเนผลผลิต -จัดทำข้อมูลเอกภาพ -และติดตามสถานการณ์การออกดอกติดผล ประมาณการผลผลิตในฤดูกาล -วางแผนบริหารจัดการ ผลไม้ ครั้งที่ 1 (มีค.62) ครั้งที่ 2 (พค.62) ครั้งที่ 3 (กค.62)

การผลิตเชิงคุณภาพ ตามโครงการยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรให้มีความรู้ ทักษะ และมีความชำนาญให้สามารถผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามความต้องการของตลาด (ต้นทาง) ของเกษตรกรให้สามารถผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐานตามระบบการจัดการคุณภาพ GAP เพิ่มขึ้น ด้วยการขับเคลื่อนงานส่งเสริมและสนับสนุนพัฒนาเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ ในพื้นที่ที่มีศักยภาพทางการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตร เพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการผลิตภาคการเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผู้ผลิตและผู้บริโภคมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นมีความยั่งยืนในภาคการเกษตร

เป้าหมายดำเนินงานยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน GAP ในแปลงใหญ่ ปี 2562 ที่ แปลงใหญ่ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ชนิดพืช เกษตรกร   (ราย) 1 ปาล์มน้ำมัน 10 2 323 3 มะพร้าว 45 4 ลองกอง 13 5 จำปาดะ 30 6 26 381 56 ปี ชนิดพืช ที่อยู่ จำนวน (ราย) 2559 ปาล์มน้ำมัน ม.5 ต.นิคมพัฒนา อ.มะนัง 10 2560 ม.1 ต.คลองขุด อ.เมืองสตูล 24   ม.1 ต.ควนโพธิ์ อ.เมืองสตูล 33 ม.1 ต.ควนโดน อ.ควนโดน 88 ม.8 ต.ควนกาหลง อ.ควนกาหลง 12 ม.6 ต.ท่าเรือ อ.ท่าแพ 22 ม.4 ต.ละงู อ.ละงู 19 ม.2 ต.แหลมสน อ.ละงู 26 ม.2 ต.น้ำผุด อ.ละงู 21 ม.3 ต.ขอนคลาน อ.ทุ่งหว้า 43 ม.5 ต.ทุ่งบุหลัง อ.ทุ่งหว้า 35 มะพร้าว ม.1 ต.ละงู อ.ละงู ม.6 ต.แหลมสน อ.ละงู 9 ม.1 ต.ทุ่งบุหลัง อ.ทุ่งหว้า ลองกอง 13 2561 ม.7 ต.สาคร อ.ท่าแพ จำปาดะ ม.2 ต.วังประจัน อ.ควนโดน 30 รวม 447

ผลการดำเนินงานยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน ประเด็น/กิจกรรมที่ดำเนินการ ผลการดำเนินการ การพัฒนาเจ้าหน้าที่โดยสัมมนาเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด และระดับอำเภอ เป็นที่ปรึกษาเกษตรกร และเป็นวิทยากรด้านมาตรฐาน GAP เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอและระดับจังหวัดได้รับการพัฒนา ปี 62 จำนวน 13 ราย ปี 61 จำนวน 9 ราย พัฒนาเกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่ให้มีความรู้ความเข้าใจในการผลิตสินค้าเกษตรตามระบบมาตรฐาน GAP และได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP เกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่ได้รับรองมาตรฐาน GAP ปี 62 จำนวน 447 ราย (อยู่ระหว่างดำเนินการ) ปี 61 จำนวน 74 ราย/74 แปลง ปี 60 จำนวน 42 ราย/แปลง นำร่องจุดบริหารจัดการสารตกค้างในพืชผลเกษตร GAP ตรวจคัดกรองความปลอดภัยของผลผลิต ผัก/ผลไม้สด และสร้างความเข้าใจแก่เกษตรกรผู้ผลิต ในการผลิตพืชปลอดภัยได้มาตรฐาน สร้างความมั่นใจต่อผู้บริโภค ปี 62 ดำเนินการ ณ ตลาดเกษตรกรจังหวัดสตูล 1 จุด พัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครเกษตรกร GAP อาสา เพื่อให้มีเกษตรกรผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษาเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการผลิตสินค้าเกษตร ตามระบบ GAP ในพื้นที่ได้ มีเกษตรกร GAP อาสา ปี 62 จำนวน 25 ราย ปี 61 จำนวน 4 ราย

ส่งเสริมมาตรฐานสินค้าเกษตร (เกษตรอินทรีย์) กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรที่สนใจ จำนวน 50 ราย (พืชผัก พืชสมุนไพร และมะพร้าวอ่อน) และเกษตรกร สมาชิกแปลงใหญ่มะพร้าว จำนวน 16 ราย พื้นที่ดำเนินการ ผลสำเร็จในการดำเนินงาน อ.เมืองสตูล อ.ควนโดน อ.ละงู อ.ทุ่งหว้า เกษตรกรได้รับใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand) 4 ราย เกษตรกรเข้าสู่ระยะปรับเปลี่ยน 8 ราย เกษตรกรมีตลาดรองรับ และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ได้

พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้าเกษตรแปรรูป ประเด็น/กิจกรรมที่ดำเนินการ ผลการดำเนินการ พัฒนาทักษะวิสาหกิจชุมชนด้านการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรแปรรูป สมาชิกวิสาหกิจชุมชน 2 วสช. ได้รับการการถ่ายทอดความรู้และพัฒนาทักษะการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรแปรรูป พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปวิสาหกิจชุมชน (2 แห่ง) เช่น ปรับปรุงกระบวนการผลิต สถานที่ผลิต ตรวจประเมินและขอเครื่องหมายคุณภาพมาตรฐานการผลิตและผลิตภัณฑ์ ออกแบบและจัดทำบรรจุภัณฑ์หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ดำเนินการเดือนมีนาคม 62

พัฒนาศักยภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรจังหวัดสตูล ปี 2562 (งบพัฒนาจังหวัด) กิจกรรม เป้าหมาย เกษตรกร (ราย) หมายเหตุ 1. กิจกรรมบริหารจัดการคุณภาพไม้ผล 7 อำเภอ 350 ราย อำเภอละ 50 ราย 2. กิจกรรมศูนย์รวบรวมผลผลิตผลไม้คุณภาพ 3 อำเภอ 150 ราย ควนโดน/ควนกาหลง/ละงู รวม 2 กิจกรรม 500 ราย

1. บริหารจัดการคุณภาพไม้ผล กิจกรรม เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 1.1 ถ่ายทอดความรู้การบริหารจัดการคุณภาพไม้ผล (อบรม 7 รุ่นๆ ละ 2 วัน) 1.2 นำเกษตรกรศึกษาดูงานการผลิตไม้ผลคุณภาพ (ภาคใต้ตอนบน 3 วัน 2 คืน) 350 ราย (อำเภอละ 50 ราย) 84 ราย เกษตรกรจำนวน 350 ราย ได้รับความรู้ เกษตรกร จำนวน 84 ราย ได้เรียนรู้การผลิตไม้ผลคุณภาพ

2. ศูนย์รวบรวมผลผลิตผลไม้คุณภาพ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินการ 2.1 อบรม/ฝึกปฏิบัติสมาชิกศูนย์รวบรวมผลไม้ (3 จุด) 2.2 นำเกษตรกรศึกษาดูงานศูนย์รวบรวมคัดแยกผลไม้ (2 วัน 1 คืน) 2.3 สนับสนุนวัสดุดำเนินงานศูนย์รวบรวมผลไม้ (3 จุด) ควนโดน /ควนกาหลง/ละงู อำเภอละ 50 ราย ควนโดน/ควนกาหลง/ละงู เกษตรกรอำเภอละ 5 ราย จนท.จังหวัด+อำเภอ 5 ราย (โต๊ะ/ป้ายศูนย์ฯ/ป้ายข้อมูล/ พาเลท/ตะกร้าพลาสติก/ กล่องบรรจุผลไม้) แผน มีค.-พค.62 แผน เดือน พ.ค.-มิ.ย.62 เดือน เมย..-ก.ค.62

3. มุ่งเน้นการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในลักษณะตลาดนำการผลิต 3.2 พัฒนาเกษตรกรให้มีขีดความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการ 3) สร้างความตระหนักให้เกษตรกรทราบถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและคุณภาพสินค้า ส่งเสริมการอารักขาพืชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ประเด็น/กิจกรรมที่ดำเนินการ ผลการดำเนินการ จัดการศัตรูพืชตระกูลปาล์ม 1) จัดกระบวนเรียนรู้เกษตรกร เรื่องการจัดการศัตรูมะพร้าวและปาล์มน้ำมัน เกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าวและปาล์มน้ำมัน จำนวน 50 ราย ได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติการจัดการศัตรูพืช 2) แปลงเรียนรู้การจัดการศัตรูมะพร้าวและปาล์มน้ำมัน (1 แปลง) ดำเนินการเดือน มี.ค. 62 จัดการศัตรูยางพารา 1) จัดกระบวนการเรียนรู้เกษตรกร เรื่องการจัดการศัตรูยางพารา เกษตรกรผู้ปลูกยางพารา จำนวน 50 ราย ได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติการจัดการศัตรูพืช 2) แปลงเรียนรู้การควบคุมศัตรูยางพารา (1 แปลง)

3. มุ่งเน้นการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในลักษณะตลาดนำการผลิต 3.2 พัฒนาเกษตรกรให้มีขีดความสามารถในการเป็นผู้ประกอบการ 4) สร้างเครือข่าย จับคู่ธุรกิจเกษตร พัฒนาวิสาหกิจชุมชนให้เข้มแข็งส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ประเด็น/กิจกรรมที่ดำเนินการ ผลการดำเนินการ การประเมินศักยภาพและจัดทำแผนพัฒนากิจการ วิสาหกิจชุมชน จำนวน 14 วสช. ได้รับการประเมินศักยภาพและจัดทำแผนพัฒนากิจการ เพิ่มทักษะการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร (1 วสช.) ดำเนินการเดือน เม.ย. 62 พัฒนาผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนต้นแบบ ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนรุ่นใหม่ จำนวน 20 ราย ได้รับการพัฒนาศักยภาพ พัฒนาวิสาหกิจชุมชนดีเด่นเป็นแหล่งเรียนรู้ (1 วสช.) ดำเนินการเดือนก.พ. 62

3. มุ่งเน้นการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในลักษณะตลาดนำการผลิต 3.3 เพิ่มโอกาสทางการตลาดของสินค้าเกษตรคุณภาพ 1) ตลาดเกษตรกรจังหวัดสตูล ตลาดเกษตรกรจังหวัดสตูล ดำเนินการเปิดตลาดตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม 2558 จนถึงปัจจุบัน โดยเปิดจำหน่ายสินค้าทุกวันพุธ ตั้งแต่เวลา 09.00 – 14.00 น. ณ บริเวณลานจอดรถหน้าศาลากลางจังหวัดสตูล ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ( ต.ค.61 – 2 ม.ค.62 ) - เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 28 ราย/กลุ่ม - ยอดจำหน่ายสินค้า จำนวน 13 ครั้ง เฉลี่ยเดือนละ 145,649 บาท

3. มุ่งเน้นการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในลักษณะตลาดนำการผลิต 3.3 เพิ่มโอกาสทางการตลาดของสินค้าเกษตรคุณภาพ 2) ตลาดประชารัฐของดีวิถีชุมชน ธ.ก.ส. สตูล ตลาดประชารัฐของดีวิถีชุมชน ธ.ก.ส. สตูล จำหน่ายสินค้าทุกวันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 09.00 – 14.00 น. ณ บริเวณลานจอดรถ ธ.ก.ส. สตูล ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 35 ราย/กลุ่ม - ยอดจำหน่ายสินค้า จำนวน 13 ครั้ง เป็นเงินโดยประมาณ จำนวน 380,000 บาท/เดือน 3) ตลาดประชารัฐ (โมเดิลเทรด) ตลาดประชารัฐ (โมเดิลเทรด) จำหน่ายสินค้าทุกวันพฤหัสบดี และ วันเสาร์ ตั้งแต่เวลา 09.00 เป็นต้นไป ณ บริเวณในห้างบิ๊กซีสตูล ซุปเปอร์เซ็นเตอร์ - ผู้ประกอบการ 7 ราย/กลุ่ม - ยอดจำหน่ายสินค้าประมาณ 23,500 บาท/ครั้ง

3. มุ่งเน้นการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในลักษณะตลาดนำการผลิต 3.3 เพิ่มโอกาสทางการตลาดของสินค้าเกษตรคุณภาพ 4) ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร จัดเวทีสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยววิถีเกษตรและชุมชน จำนวน 20 คน โดยคัดเลือกจากสมาชิกตลาดเกษตรกร YSF และ SF จะดำเนินการเดือนมิถุนายน 2562 5) ตลาดเกษตรกร - อบรมเกษตรกรผู้จำหน่ายสินค้าเกษตรในตลาดเกษตรกร 3 หลักสูตร จำนวน 15 ราย ในเดือนพฤษภาคม 62 - พัฒนาตลาดเกษตรกร จำนวน 1 จุด ในเดือนพฤษภาคม 62 - เชื่อมโยงและส่งเสริมเครือข่ายตลาดเกษตรกร

การดำเนินงานการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในลักษณะตลาดนำการผลิต วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสตูล ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมโต๊ะหยงกง ศาลากลางจังหวัดสตูล ชั้น ๓ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล (นายภัทรพนธ์ รัตนพิเชฏฐชัย) เป็นประธาน โดยที่ประชุมมีมติมอบหมายให้ CoO และ OT ขับเคลื่อนและบูรณาการดำเนินงานเกษตรแปลงใหญ่และงานโครงการนโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามหลักคิดการตลาดนำการผลิต วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๑ ประชุม CoO ครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ ณ สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล ที่ประชุม มีมติให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาผลิตสินค้าเกษตรตามความต้องการของตลาด เช่น มะพร้าว พืชผัก ข้าว ถั่วฟักยาว ฯลฯ และสำนักงานพาณิชย์จังหวัดรับประสานหาตลาดสินค้าประมง คือ หอยแมลงภู่ และหาตลาดไม้ผลของจังหวัดสตูล เช่น จำปาดะ ทุเรียน ลองกอง ในตลาดต่างจังหวัดเมื่อถึงฤดูกาลต่อไป

การดำเนินงานตลาดนำการผลิต ปี 2561 วันที่ ๒2 มีนาคม ๒๕๖๑ สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล จัดประชุมหารือการตลาดนำการผลิตสินค้าเกษตรของจังหวัด ณ ห้องประชุมสำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล ที่ประชุมมีมติ คัดเลือกผลผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรของจังหวัด ได้แก่ จำปาดะ ทุเรียน ข้าวโพดหวาน กุ้งขาว กุ้งแห้ง กะปิ พืชผัก เป็นต้น และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาผลผลิตและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในแต่ละอำเภอที่เหมาะสม ส่งให้ สนง.เกษตรและสหกรณ์จังหวัดสตูล ภายในวันที่ 28 มีนาคม 2561 เพื่อรวบรวมส่งสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ภายในวันที่ 30 มีนาคม 2561

สินค้าเกษตรนำการผลิต จังหวัดสตูล    

1. สินค้าเกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัย สู่โรงพยาบาลอาหารปลอดภัยจังหวัดสตูล ลงนามบันทึกข้อตกลงการสนับสนุนกลุ่มเกษตรกรเพื่อดำเนินงานโครงการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ห้องประชุมแก้วโกเมน ชั้น 4 ตึกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสตูล (MOU) โดยรองผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล (นายจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา) เป็นประธาน

21 มีนาคม 2561 จัดประชุมเตรียมการขับเคลื่อนและวางแผนการผลิตเกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยของกลุ่มเกษตรกร เพื่อสนับสนุนโครงการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยจังหวัดสตูล ณ ห้องประชุมสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสตูล ศาลากลางจังหวัดสตูล ชั้น 3

จัดตั้งกลุ่ม “ผลผลิตปลอดภัย” จังหวัดสตูล เพื่อผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยออกสู่ตลาดตามนโยบาย “การตลาดนำการผลิต และสนับสนุน โครงการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย” “กลุ่มผลผลิตปลอดภัย” แปลงผักของ นายบุญฤทธิ์ ละอองวิจิตรประธานกลุ่ม

22 มีนาคม 2561 นำเสนอข้อมูลกลุ่ม “ผลผลิตปลอดภัย” ให้ที่ประชุมหารือการตลาดนำการผลิตสินค้าเกษตรของจังหวัดสตูล ซึ่งจัดโดย สนง.เกษตรหวัดสตูล ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการอำนวยการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญและการแก้ไขปัญหาภาคเกษตรระดับจังหวัด รับทราบและได้รับคัดเลือกเป็นผลผลิตและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรของจังหวัดสตูล (นโยบายเกษตรอินทรีย์จังหวัดสตูล)

26 มีนาคม 2561 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นำกลุ่ม “ผลผลิตปลอดภัยจังหวัดสตูล” เข้าประชุมร่วมกับคณะทำงานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยจังหวัดสตูล โดยมีผู้อำนวยการโรงพยาบาลสตูล เป็นประธานการประชุม ทั้งนี้ เพื่อรับทราบขั้นตอน แผนการผลิตอาหารของโรงพยาบาลทั้ง 7 แห่ง ในจังหวัดสตูล และวิธีการดำเนินการรวบรวมและจัดส่งสินค้า “ผลผลิตปลอดภัย” สู่โรงพยาบาลในจังหวัดสตูล

2. สินค้าเกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัย สู่ตลาดเกษตรกรจังหวัดสตูล ทุกวันพุธของสัปดาห์ ณ ลานจอดรถหน้าศาลากลางจังหวัดสตูล

สมาชิกกลุ่มผลผลิตปลอดภัยจังหวัดสตูล จำนวน 14 ราย มีพื้นที่ปลูก จำนวน 30 ไร่ ปริมาณผลผลิต 69,600 กก./ปี ซึ่งได้รับมาตรฐาน GAP จำนวน 10 ราย พื้นที่ปลูกจำนวน 16 ไร่ นำผลผลิตเกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยของสมาชิกและเครือข่ายมาจำหน่ายในตลาดเกษตรกรจังหวัดสตูล ทุกวันพุธของสัปดาห์ เช่น ผักบุ้ง มะเขือ พริก ผักกาด เห็ดฟาง บวบ พืชผักสวนครัว ฯลฯ ซึ่งทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นเพราะไม่ต้องจำหน่ายผ่านพ่อค้าคนกลางและประหยัดต้นทุนค่าขนส่ง มีแหล่งจำหน่ายที่แน่นอน เกิดการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรฐานและคุณภาพของสินค้าของกลุ่มเพราะการจำหน่ายสินค้าในตลาดเกษตรกรแสดงถึงความปลอดภัยและได้มาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาดในปัจจุบันที่ผู้บริโภคหันมาใส่ใจสุขภาพ เน้นบริโภคอาหารปลอดภัยมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ทำให้เกิดการพบปะระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภคโดยตรง ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลการผลิตและการตลาดระหว่างเกษตรกรกับผู้บริโภคโดยตรง

การประชาสัมพันธ์ “ตลาดเกษตรกรจังหวัดสตูล”  คณะกรรมการบริหารโครงการตลาดเกษตรกรจังหวัดสตูล มอบหมายกรรมการผู้ทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ประสานสมาชิกไปร่วมออกรายการวิทยุ “ห้องข่าวเช้านี้” ณ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดสตูล FM 95.50 MHz ทุกวันจันทร์สัปดาห์แรกของเดือน

3. สินค้าเกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัย ตลาดประชารัฐ 3. สินค้าเกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัย ตลาดประชารัฐ เช่น ตลาด ธกส. สาขาสตูล ทุกวันศุกร์

4. ร้านธงฟ้าประชารัฐ จังหวัดสตูล กรณีมีเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร ต้องการจำหน่ายสินค้าเกษตรในร้านธงฟ้าประชารัฐ จังหวัดสตูล CoO จะประสานข้อมูลให้สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสตูล ดำเนินการติดต่อร้านค้าดังกล่าว เพื่อวางจำหน่ายสินค้าเกษตรต่อไป

5. สินค้าเกษตรแปลงใหญ่ จังหวัดสตูล CoO มีมติในคราวประชุม ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2561 ให้เตรียมความพร้อมด้านการตลาดนำการผลิตของสินค้าเกษตรแปลงใหญ่ โดยให้สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสตูลประสานจัดหาตลาดต่างจังหวัดเมื่อถึงฤดูกาลไม้ผลของจังหวัดสตูลในช่วงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2561 2. จัดงานมหกรรมผลผลิตเกษตรชุมชนและการค้าชายแดน ในช่วงเดือนกรกฎาคม- สิงหาคม 2561 ณ บริเวณศาลากลาง จังหวัดสตูล ซึ่งจะจัดจำหน่ายผลผลิตจากเกษตรแปลงใหญ่และสินค้าเกษตรที่สำคัญอื่นๆ ของจังหวัดในงานดังกล่าว 3. อำเภอควนโดน จัดงานวันจำปาดะ ผลไม้และของดีจังหวัดสตูล ครั้งที่ 24 ในช่วงปลายเดือนสิงหาคม – ต้นเดือนกันยายน 2561

ผลผลิตและผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรแปลงใหญ่ จังหวัดสตูล ชนิด สินค้า ที่ตั้ง สมา ชิก (คน) พื้นที่ (ไร่) ปริมาณ ผลผลิต การซื้อ-ขาย 1. จำปาดะ 45 ม.2 ต.วังประจัน อ.ควนโดน 40 69 82 ตัน ตลาดในท้องถิ่น/ตลาด ต่างจังหวัด 2. ลองกอง ม.1 ต.ควนโดน อ. ควนโดน 120 200 99 ตัน 2. ทุเรียน ม.6 ต.ควนกาหลง อ. ควนกาหลง 34 92 21 ตัน ตลาดในท้องถิ่น/ขายผ่าน ไลน์/ตลาดต่างจังหวัด 3. แพะ ม.8 ต.ท่าแพ อ.ท่า แพ 50 457 2,250 ตัว พ่อค้าจังหวัดใกล้เคียง, ร้าน ขายของหน้าอำเภอ 4. กุ้ง ทะเล ม.1,3,6,8 ต.สาคร ม.6 ต.ท่าเรือ อ.ท่าแพ 24 454 448.8 ตัน แพโกเอี่ยม,แพซากิ๊ฟ,แพ สุชาวดี โกชา,แพบังแอน, แพบังสมยศ, แพประพัน, แพ ยูโสป, แพสมศักดิ์,แพหลีเฮง แอ๊ะ, แพ ช.ช้าง, แพอามีนะห์, แพปกรณ์, แพเทพทอง

4. สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่และพัฒนาเกษตรกรมืออาชีพ

แนวทางการพัฒนาเกษตรกร ยุวเกษตรกร YSF SF เป้าหมาย (49 กลุ่ม) พัฒนายุวเกษตรกรสู่การเป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ แนวทาง อบรมให้ความรู้ด้านการเกษตร สร้างทัศนคติเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็น YSF เครื่องมือ T&V เกษตรกร/แปลงต้นแบบ คง.2 ปัญหา อุปสรรค เมื่อยุวเกษตรกรในโรงเรียนจบการศึกษาแล้ว ไม่ให้ความสำคัญกับการทำเกษตร มุ่งเรื่องเรียน และส่วนใหญ่จะเข้าเรียนต่อนอกพื้นที่ เป้าหมาย (142 คน) พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้พึ่งตนเองได้ มีความพร้อมที่จะพัฒนาตัวเองสู่การเป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตร แนวทาง วิเคราะห์ศักยภาพตนเอง ให้ความรู้ตามความต้องการ ปรับเปลี่ยนแนวคิดการทำการเกษตร จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยน สร้างเครือข่าย ถอดองค์ความรู้ และขยายผล เครื่องมือ T&V เกษตรกร/แปลงต้นแบบ คง.2 ปัญหา อุปสรรค เกษตรกรยังค้นหาเป้าหมายที่แท้จริงไม่ได้ ยังคงติดอยู่กับการปฏิบัติแบบเดิม ไม่นำเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาใช้ในการผลิต เป้าหมาย (245 คน) พัฒนาตนเองให้เป็นต้นแบบ เป็นเกษตรกรมืออาชีพ แนวทาง เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ ฝึกทักษะการถ่ายทอดความรู้ การเป็นวิทยากร สร้างเครือข่าย เครื่องมือ T&V เกษตรกร/แปลงต้นแบบ คง.2 ปัญหา อุปสรรค ต้องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเกษตรกร การสนับสนุน ภาครัฐ: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (การผลิตสินค้าอินทรีย์) เอกชน: บริษัทค้าปลีก (ช่องทางการจำหน่ายสินค้า) โรงพยาบาล (ช่องทางการจำหน่ายสินค้าปลอดภัย) ธนาคาร: ธกส. (สนับสนุนสินเชื่อ) หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง

1. ให้จังหวัดเชื่อมโยงการดำเนินงานยุวเกษตรกรบูรณาการกับงบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด พร้อมทั้งดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร ระยะ 3 ปี โครงการ หลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบโครงการ โครงการ “ปลูกจิตสำนึกรักษ์เกษตรเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนและชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562” ยุวเกษตรกร นักเรียนโรงเรียนในพื้นที่ 7 อำเภอๆละ 1 โรง จำนวน 30 ราย/โรงเรียน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสตูลและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (งบประมาณพัฒนาจังหวัด)

แผนการพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร ระยะ 3 ปี พัฒนายุวเกษตรกร เตรียมความพร้อมสู่เกษตรกรรุ่นใหม่ ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรในระดับมัธยมศึกษา เพื่อรองรับ การเข้าศึกษาต่อโดยโควตาพิเศษ กับทางมหาวิทยาลัยที่มีการทำความ ร่วมมือทางด้านวิชาการ(MOU)

ประเภทกลุ่มยุวเกษตรกร(ในโรงเรียน) 2. การจัดทำฐานข้อมูลกลุ่มยุวเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการในปีงบประมาณ ปี 2562 พร้อมทั้งปรับปรุงข้อมูลการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกรที่ผ่านมาให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ข้อมูล ณ ปี 2561 ลำดับที่ อำเภอ กลุ่มยุวเกษตรกร ประเภทกลุ่มยุวเกษตรกร(ในโรงเรียน) จ.น.กลุ่ม จ.น.สมาชิก ประถม ม.ต้น ม.ปลาย 1 เมือง 5 120 2 ควนโดน 6 125 3 ควนกาหลง 150 4 ท่าแพ 75 ละงู 10 250 ทุ่งหว้า 8 280 7 มะนัง 11 350 รวม 49 1,350 38 * ฐานข้อมูลปัจจุบัน กำลังอยู่ในช่วงดำเนินการ

3.การขยายงานการดำเนินงานกลุ่มยุวเกษตรกรไปในระดับอุดมศึกษาในพื้นที่ เป้าหมายการขยายงานการดำเนินงานกลุ่มยุวเกษตรกรในระดับ มัธยมเพื่อรองรับในการเข้าศึกษาต่อโดยโควตาพิเศษใน ระดับอุดมศึกษา ปี 2562 จัดตั้งกลุ่มยุวเกษตรกรอำเภอละ อย่างน้อย 1 โรง ปี 2561 จังหวัดสตูลได้ส่งยุวเกษตรกรเข้าคัดเลือกเข้าศึกษาต่อโดยโควต้าพิเศษในระดับมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ราย * นายบรรณวิทย์ ใจสมุทร ยุวเกษตรกรโรงเรือนราชประชานุเคราะห์ ที่ 42 อ.เมืองสตูล ผ่านการสอบสัมภาษณ์เข้าศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

5. เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการองค์กร และสานพลังทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร

- หลักสูตรนักส่งเสริมการเกษตรมืออาชีพ ปี 2562 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร เข้าอบรมหลักสูตรของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานอื่น - หลักสูตรนักส่งเสริมการเกษตรมืออาชีพ ปี 2562 จำนวน 3 ราย - หลักสูตร e-learning กรมส่งเสริมการเกษตร ปี 2562 จำนวน 6 ราย - หลักสูตรเทคนิคการนำเสนอและสรุปประเด็น ปี 2562 จำนวน 2 ราย - หลักสูตรนักบริหารส่งเสริมการเกษตร (นสก.) ปี 2562 จำนวน 2 ราย

การพัฒนาศักยภาพบุคลากร - เข้ารับการคัดเลือกเพื่อปฏิบัติหน้าที่เจ้าหน้าที่โครงการ The International Horticultural Exhibition 2019 (Beijing EXPO 2019) ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน 1 ราย - พัฒนาผู้จัดการแปลง ทั้ง 7 อำเภอ และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานปาล์มน้ำมัน ตามโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ปาล์มน้ำมัน(มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่) เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2562

การพัฒนาศักยภาพบุคลากร โครงการพัฒนาความรู้และทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำปี 2562 จำนวน 5 หลักสูตร (งบประมาณของ อบจ.สตูล) จำนวน 15 ราย (อบรมในเดือนเมษายน 2562) การเข้าร่วมอบรมหลักสูตรต่างๆ ของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานอื่น ทำให้เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้เพื่อพัฒนาตนเองและนำความรู้ไปปรับใช้ในงานของตนเอง

(2) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานส่งเสริมการเกษตร งานทะเบียนเกษตรกร - ใช้ระบบทะเบียนเกษตรกรเพื่อขึ้น/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร และใช้ Google map ในการตรวจสอบพื้นที่แปลงจากแผนที่

(2) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานส่งเสริมการเกษตร (ต่อ) - ใช้วัสดุอุปกรณ์เช่น แท็บเล็ต /GPS/Smart Phone ทำงานในพื้นที่ เพื่อขึ้น/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร และจับพิกัดแปลง

ประชาสัมพันธ์การใช้ Application ผ่านเว็บไซต์สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล (2) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานส่งเสริมการเกษตร (ต่อ) - ใช้ Doae Farmbook Application สำหรับปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ซึ่งดำเนินการดังนี้ ประชาสัมพันธ์การใช้ Application ผ่านเว็บไซต์สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล

(2) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานส่งเสริมการเกษตร (ต่อ) ประชาสัมพันธ์ผ่านเวทีหมู่บ้าน/ตำบล/เครือข่าย

ผลการดำเนินงาน - การขึ้น/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ดำเนินการได้รวดเร็ว ลดระยะเวลาในการให้บริการ และลดภาระเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบแปลงในพื้นที่ ปัญหา/อุปสรรค - Application doae farm book มีขนาดใหญ่ เกษตรกรไม่สามารถดาวน์โหลดได้ เกษตรกรจังหวัดสตูลส่วนใหญ่ มีโทรศัพท์ที่สามารถเล่นอินเตอร์เน็ตได้ แต่เป็นโทรศัพท์ที่ไม่รองรับกับการใช้ Application

งานเร่งด่วนที่สำคัญ

โครงการสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง บทบาทการทำงานของเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตร ตามคำสั่งจังหวัดสตูล ที่ 3184/2561 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2561 เกษตรตำบล เป็นคณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ ของคณะทำงานตรวจสอบสิทธิ์โครงการฯ ซึ่งมีหน้าที่ในการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์การเข้าร่วมโครงการฯ แก้ไขปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานตามโครงการฯ รวมทั้ง ดำเนินการอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริหารโครงการฯ ระดับอำเภอ เกษตรอำเภอ เป็นกรรมการ คณะกรรมการบริหารโครงการฯ ระดับอำเภอ มีหน้าที่ในการกำกับ ดูแล และปฏิบัติงานตามโครงการ พิจารณาผลการตรวจสอบและรับรองสิทธิ์การเข้าร่วมโครงการฯ รวมทั้ง ดำเนินการอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริหารโครงการฯ ระดับจังหวัด เกษตรจังหวัด เป็นกรรมการ คณะกรรมการบริหารโครงการฯ ระดับจังหวัด มีหน้าที่ในการกำกับ ดูแล และแก้ไขปัญหาตามโครงการฯ ให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว รัดกุม และ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด รวมทั้งป้องกันการทุจริตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น

ผลการดำเนินงานโครงการสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง

โครงการสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ามัน

โครงการสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ามัน อ.ท่าแพ นำรายชื่อเข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรชาวสวนปาล์มน้ำมัน ระดับอำเภอ ในวันที่ 14 ก.พ.62 เพื่อพิจารณารับรองสิทธิ์ รอบที่ 2

สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล