บทที่ 14 การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจ เพื่อการวินิจฉัยโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ใครๆมักถือเอาความสำเร็จว่า เป็นพรที่ได้รับจากสวรรค์ แต่แท้ที่จริงแล้ว พรดังกล่าวได้มาจาก ความพยายามอย่างลำบากตรากตรำของตัวบุคคลเองต่างหาก.
Advertisements

OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
The Effect of Angiotensin II Receptor Blocker on Peritoneal Membrane Transports in Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis Patients นางสาวมนสิชา บัวอ่อน.
Local Anesthetics And Peripheral Nerve Block
การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ
View 1. Sagittal midline Aorta and left hepatic lobe
Spinal anesthesia Patchanee Pasitchakrit Department of Anesthesiology
การทดสอบเครื่องวัดความดันโลหิต
OBJECTIVE 1. เพื่อให้นักศึกษาทราบขอบข่ายของ วิชาพยาธิวิทยา 2. เพื่อให้นักศึกษาทราบศัพท์ที่ใช้ บ่อยในวิชาพยาธิวิทยา 3. เพื่อให้นักศึกษาทราบชนิดสิ่งส่ง.
สุขภาพช่อง ปาก : สุขภาพผู้สูงอายุ พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน หน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชา อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล รามาธิบดี
การป้องกันการติดเชื้อจากการให้สารน้ำ ทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง
Neck.
การประเมินภาวะโภชนาการ และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
Spinal anesthesia Patchanee Pasitchakrit Department of Anesthesiology
Lymphatic drainage of the head and neck
Facilitator: Pawin Puapornpong
Assoc. Prof. Pawin Puapornpong
Temporomandibular joint
การให้ยาฉีด อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
สาขา 13 รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ ในภาวะฉุกเฉินและเรื้อรัง
การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง Spinal cord injury
การตรวจหาเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส ในกลุ่มเกษตรกร โดยใช้กระดาษทดสอบพิเศษ
Clinical Correlation Cardiovascular system
US. Upper abdomen (kidney spleen pancreas vessels bowel)
Upper Airway Obstruction
intra-abdominal compartment syndrome (ACS )
Assoc. Prof. Somchai Amornyotin
Nerve injury Kaiwan Sriruanthong M.D. Nan Hospital.
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
Facilitator: Pawin Puapornpong
The Child with Respiratory dysfunctionII
Facilitator: Pawin Puapornpong
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
การตัดชิ้นเนื้อตรวจปากมดลูก (Cervical punch biopsy)
แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม
ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น
Rehabilitation in Spinal Cord Injury
Introduction to Human Anatomy and Physiology
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
Students’ Attitudes toward the Use of Internet
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (Infection Control : IC) รพ.สต.ติดดาว
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
Case influenza.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 33
NUR 2224 การประเมินภาวะสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ
พระพุทธศาสนา.
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
วก. 300 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
NUR 3263 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
The Child with Renal Dysfunction
The Child with Renal Dysfunction
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
THE AXILLA.
THE HEART 1. เป็นก้อนกล้ามเนื้อเป็นโพรงข้างในมี 4 ช่อง ขนาดกำปั้นมือ ตั้งอยู่ใน Pericardial sac , Posterior ต่อ Sternum , เอียงซ้าย Apex อยู่ส่วนล่าง.
ผลการพัฒนาถุงรองรับน้ำย่อย จากกระเพาะอาหาร
ตามรอยพุทธธรรม.
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
(ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546)
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
Color Standards A pixel color is represented as a point in 3-D space. Axis may be labeled as independent colors such as R, G, B or may use other independent.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 14 การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจ เพื่อการวินิจฉัยโรค บทที่ 14 การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจ เพื่อการวินิจฉัยโรค อ.กรวรรณ สุวรรณสาร

การพยาบาลผู้ป่วยก่อนการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค วัตถุประสงค์ ความไม่สุขสบาย ความเจ็บปวดขณะฉีดยาชา ระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจ การปฏิบัติตัวทั้งก่อนตรวจ ขณะตรวจ และหลังตรวจ เซ็นใบยินยอมรับการรักษา ถ่ายปัสสาวะก่อนทำการตรวจสัญญาณชีพ ประวัติการแพ้ยา สภาพผิวหนัง ผู้ป่วย อุปกรณ์ สภาพแวดล้อม

การพยาบาลผู้ป่วยก่อนการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค ถุงมือปราศจากเชื้อ ยาชาเฉพาะที่ น้ำยาฆ่าเชื้อ ผ้าปิดแผลชนิดเหนียว ชามรูปไต ปากคีบยาวปราศจากเชื้อ เก้าอี้นั่งสำหรับแพทย์ ผู้ป่วย อุปกรณ์ สภาพแวดล้อม

การพยาบาลผู้ป่วยก่อนการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค นำอุปกรณ์ไปที่เตียงผู้ป่วย เป็นสัดส่วน แสงสว่าง มีพื้นที่ในการจัดวางอุปกรณ์ สะดวกต่อการจัดท่าผู้ป่วย และช่วยแพทย์ ผู้ป่วย อุปกรณ์ สภาพแวดล้อม

การช่วยเหลือแพทย์ขณะตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค จัดวางอุปกรณ์ให้สะดวกต่อการปฏิบัติ เปิดชุดสำหรับตรวจ และเทน้ำยาฆ่าเชื้อโดยใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ ใช้สำลีแอลกอฮอล์ 70% เช็ดจุกขวดยาชา ส่งขวดยาชาให้แพทย์หันด้านฉลากยาให้แพทย์เห็นอย่างชัดเจน แพทย์จะทำการดูดยาชา ใช้พลาสเตอร์ยึดมุมผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางที่แพทย์คลุมบริเวณที่เจาะไว้ให้อยู่กับที่

การพยาบาลผู้ป่วยหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค ตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที จำนวน 4 ครั้ง ทุก 30 นาที จำนวน 4 ครั้ง วัดทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าสัญญาณชีพจะคงที่ และอยู่ในเกณฑ์ปกติ นำเครื่องใช้ไปทำความสะอาด และเก็บเข้าที่ บันทึกวัน เวลา ชื่อแพทย์ ชื่อของยาชา สี ลักษณะ จำนวนของน้ำคัดหลั่ง/ ชิ้นเนื้อ อาการ และอาการแสดงของผู้ป่วยก่อนเจาะ ขณะเจาะ และหลังเจาะ ติดเชื้อ ปวด เลือดออก

การพยาบาลผู้ป่วยเจาะหลัง การเจาะหลัง (lumbar puncture) การแทงเข็มผ่านช่องระหว่างกระดูกเอวที่ 3 และ 4 หรือ 4 และ 5 เข้าไปยังช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มไขสันหลังใต้ชั้นอาเรคนอยด์ (Subarachnoid space) ตำแหน่งนี้จะไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อไขสันหลัง เนื่องจากความยาวของไขสันหลัง จะสิ้นสุดที่ระดับกระดูกเอวที่ 2 (L2)

การพยาบาลผู้ป่วยเจาะหลัง วัตถุประสงค์ 1.การวินิจฉัยโรค โดยการเจาะน้ำไขสันหลัง เพื่อตรวจวัดระดับของน้ำไขสันหลัง และส่งน้ำไขสันหลังตรวจทางห้องปฏิบัติการ การฉีดสีเข้าไปเพื่อถ่ายภาพทางรังสี 2.การรักษา โดยการฉีดยาหรือยาชาเข้าไขสันหลัง การระบายน้ำไขสันหลังออกเพื่อลดระดับความดันในกะโหลกศีรษะในผู้ป่วยที่มีภาวะแรงดันในกะโหลกศีรษะสูง

การพยาบาลก่อนเจาะหลัง เตรียมอุปกรณ์เพิ่ม ได้แก่ ชุดเจาะหลังปราศจากเชื้อ 1) หลอดแก้วความดันน้ำไขสันหลัง (manometer) พร้อมจุกปิดเปิด 3 ทาง (three way stop-cock) 2) เข็มเจาะหลัง spinal needle ขนาด 18-19 gauge ยาว 4-5 นิ้ว หรือ 5-12.5 ซม. 3) ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 4) ผ้าก๊อซขนาด 2 x 2 นิ้ว จำนวน 2 ชิ้น 5) กระบอกฉีดยาสำหรับฉีดยาชาขนาด 3-5 มล. 6) หัวเข็มขนาด 18-19 G 23-25 G 7) ถ้วยน้ำยา และสำลี 8) ปากคีบ 9) ขวดเก็บตัวอย่างส่งตรวจพร้อมฝาปิดขนาด 5 มล. จำนวน 2 ขวด

การพยาบาลขณะเจาะหลัง ดูแลให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมตลอดเวลา ตรวจสอบชีพจร สังเกตการหายใจ และความรู้สึกตัว แพทย์อาจให้ช่วยกดหลอดเลือดบริเวณคอ (internal jugular vein) ทั้ง 2 ข้าง นานประมาณ 10 วินาที และพัก 10 วินาที (Queckenstedt’s test)

การพยาบาลขณะเจาะหลัง แพทย์อาจให้ช่วยจับปลายหลอดแก้ววัดความดันส่วนบน ช่วยแพทย์ในการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ

การพยาบาลหลังเจาะหลัง นอนราบไม่หนุนหมอน 6-12 ชั่วโมง ประเมินการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทส่วนกลาง (neurological signs) ตรวจสอบอาการทางประสาทส่วนปลาย ตรวจดูบริเวณที่เจาะ กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมาก ๆ ประมาณ 3,000 มล. ในช่วง 24-48 ชั่วโมง สังเกตอาการแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้ เช่น งุนงง อาเจียน ชีพจรช้า ปวดศีรษะ

การพยาบาลผู้ป่วยเจาะท้อง การเจาะท้อง (abdominal paracentesis) การแทงเข็มเพื่อใส่ของเหลว และ หรือดูดของเหลวออกจากช่องว่างระหว่างเยื่อบุช่องท้อง (peritoneal cavity) ตำแหน่งที่ใช้เจาะอยู่ระหว่างสะดือกับหัวเหน่า วัตถุประสงค์ 1.การวินิจฉัยโรค เช่น การเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์หาเซลล์มะเร็ง หรือหาชนิดของเชื้อโรค หรือเลือดในช่องท้อง 2.เพื่อบรรเทาอาการ โดยลดความดันในช่องท้องในผู้ป่วยที่มีน้ำขังในช่องท้อง

การพยาบาลก่อนเจาะท้อง ชุดเจาะท้องปราศจากเชื้อ เข็มโทรคาร์ และท่อแคนนูลา (trocar และ cannula) หรือเข็มเจาะท้อง ท่อพลาสติกหรือท่อยาง ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง จุกปิด เปิด 3 ทาง (three way stopcock) ถ้วยใส่น้ำยา สำลี ปากคีบ ปากคีบชนิดจับหลอดเลือด (artery forceps) กรรไกร มีด พร้อมด้ามมีด เข็มเย็บ และไหมเย็บ กระบอกฉีดยา ขนาด 3-5 มล. สำหรับฉีดยาชา หัวเข็มขนาด 18-19 G และขนาด 23-25 G กระบอกฉีดยาขนาด 50 มล. ผ้าก๊อซ ขนาด 2 x 2 นิ้ว จำนวน 2 ชิ้น ขวดปราศจากเชื้อขนาด 1,000 มล. เตรียมผู้ป่วย;จัดท่านอนท่าศีรษะสูง หรือท่านอนตะแคง ชั่งน้ำหนักตัว วัดรอบท้อง ปัสสาวะ เตรียมสภาพแวดล้อม

การพยาบาลขณะเจาะท้อง ตรวจสอบอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ชีพจร การหายใจ สีผิว อาการ เหงื่อออก ระดับความรู้สึกตัว ช่วยแพทย์เก็บตัวอย่างส่งตรวจ ดูแลผู้ป่วยให้อยู่ในท่าเดิม ระวังเข็มเจาะ และสายยางไม่ให้เลื่อนหลุด ดูแลไม่ให้ของเหลวไหลออกเร็วเกินไป และให้ได้จำนวนตามการรักษาของแพทย์ ปิดบริเวณที่เจาะด้วยผ้าก๊อซ ปิดทับด้วยผ้าปิดแผลชนิดเหนียว หลังจากแพทย์ดึงโทรคาร์หรือเข็มออก

การพยาบาลหลังเจาะท้อง ตรวจสอบความรู้สึกตัว อาการมึนงง BP การรั่วซึมของของเหลวจากรอยเจาะ ชั่งน้ำหนักตัว วัดรอบท้อง เปลี่ยนผ้าก๊อซปิดแผลที่เจาะ ถ้ามีของเหลวไหลซึมออกมามาก อาจใช้ผ้าพันหน้าท้องพันหน้าท้องไว้

การพยาบาลผู้ป่วยเจาะปอด การเจาะปอด (thoracentesis/ thoracocentesis) การแทงเข็มเข้าช่องเยื่อหุ้มปอด ตำแหน่งที่ใช้เจาะขึ้นอยู่กับสิ่งที่ต้องการดูดออก อากาศจะเจาะบริเวณทรวงอกด้านหน้าส่วนบน ระหว่างกระดูกซี่โครงที่ 2 และ 3 ของเหลวเจาะบริเวณทรวงอกด้านหลัง ส่วนล่างต่ำกว่าระดับของของเหลวซึ่งอาจอยู่ระหว่างกระดูกซี่โครงที่ 6 และ 7 หรือ 7 และ 8 ห้ามกระทำในผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือ สะอึก ไอ มีความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด ติดเชื้อบริเวณผิวหนังที่จะทำการเจาะ

การพยาบาลผู้ป่วยเจาะปอด วัตถุประสงค์ การวินิจฉัยโรค การรักษา ระบายของเหลวออกจากช่องเยื่อหุ้มปอด ระบายลม หรือเลือดซึ่งเกิดจากภาวะมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax) และ ภาวะมีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด (hemothorax)

การพยาบาลก่อนเจาะปอด เตรียมอุปกรณ์เพิ่ม ขวดปราศจากเชื้อขนาด 1,000 มล. สำหรับใส่ของเหลวที่ดูดออก (อุปกรณ์เสริม) ภาพถ่ายรังสีทรวงอก ชุดเจาะปอดปราศจากเชื้อ ซึ่งประกอบด้วย กระบอกฉีดยาสำหรับฉีดยาชา ขนาด 3-5 มล. หัวเข็ม ขนาด 18-19 G และขนาด 23-25 G กระบอกฉีดยาขนาด 50 มล. หัวเข็มสำหรับเจาะปอดขนาด 15-17 G ยาว 2-3 นิ้ว ถ้วยใส่น้ำยา สำลี ปากคีบ ปากคีบจับหลอดเลือด ผ้าก๊อซขนาด 2 x 2 นิ้ว จำนวน 2 ชิ้น ขวดเก็บตัวอย่างส่งตรวจพร้อมฝาปิด จุกปิดเปิด 3 ทาง ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง ท่อพลาสติกหรือท่อยาง

การพยาบาลก่อนเจาะปอด เตรียมผู้ป่วย จัดท่านั่งห้อยเท้าข้างเตียงโดยมีที่รองรับเท้า แล้วฟุบศีรษะลงบนหมอนที่วางไว้บนโต๊ะคร่อมเตียง ยกแขนทั้งสองข้างขึ้นวางบนหมอน หรือท่านอนตะแคง ยกศีรษะสูง หันลำตัวด้านที่จะเจาะไว้ข้างบน ยกมือข้ามศีรษะมาจับหัวเตียง ถ้าผู้ป่วยมีอาการไอต้องรายงานแพทย์ทราบ บอกผู้ป่วยห้ามไอ ห้ามหายใจลึก ๆ และห้ามเคลื่อนไหวขณะเจาะ ถ้าจะไอให้ส่งสัญญาณให้ทราบ ถ้าผู้ป่วยมีอาการไอมาก แพทย์อาจให้ยาระงับไอ 1 ชม. ก่อนเจาะ เตรียมสภาพแวดล้อม

การพยาบาลขณะเจาะปอด ตรวจสอบอาการเปลี่ยนแปลง โดยประเมินชีพจร การหายใจ สีผิว อาการเวียนศีรษะ เป็นลม คลื่นไส้อาเจียน เตือนผู้ป่วยไม่ให้ไอ หายใจลึก เคลื่อนไหว สังเกตสัญญาณจากผู้ป่วย ในกรณีที่ช่วยแพทย์เก็บตัวอย่างส่งตรวจต้องระมัดระวังการปนเปื้อนเชื้อ ในกรณีที่เจาะปอดเพื่อบรรเทาอาการ แพทย์จะดูดของเหลวออกครั้งละไม่เกิน 1,500 มล. และใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที สังเกตอาการ และความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเป็นระยะ ๆ เมื่อแพทย์ดูดของเหลวออกได้จำนวนตามต้องการแล้ว แพทย์จะดึงเข็มออกและปิดบริเวณที่เจาะให้แน่นด้วยผ้าก๊อซและผ้าปิดแผลชนิดเหนียว

การพยาบาลหลังเจาะปอด ตรวจบริเวณที่เจาะ ถ้ามีของเหลวไหลซึม เปลี่ยนผ้าก๊อซ รายงานแพทย์ การจัดท่า นอนตะแคงทับด้านที่เจาะปอดอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการรั่วซึมของน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural fluid) ประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นภายหลังการเจาะปอด ได้แก่ สังเกตและประเมินลักษณะและอัตราการหายใจ การหายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ลักษณะ และสีของเสมหะว่ามีเลือดปนหรือไม่ มีอาการไออย่างควบคุมไม่ได้ หรือไอปนเลือด แพทย์อาจมีคำสั่งให้ผู้ป่วยถ่ายภาพรังสีทรวงอก หรือเจาะเลือด

การพยาบาลผู้ป่วยตัดชิ้นเนื้อไต การตัดชิ้นเนื้อไต (kidney biopsy) การใช้เข็มเจาะดูดชิ้นเนื้อไตออกมา ตำแหน่งที่เจาะคือ บริเวณบั้นเอวระหว่าง ซี่โครงซี่สุดท้ายกับกระดูกสันหลัง (costovertebral angle) ด้านข้างต่อกับ กล้ามเนื้อ lumbosacral

การพยาบาลผู้ป่วยตัดชิ้นเนื้อไต วัตถุประสงค์ 1. วินิจฉัยโรค เช่น ตรวจดูลักษณะ พยาธิสภาพของเนื้อไต 2. ติดตามการดำเนินของโรค และพยากรณ์ของโรคไต 3. เป็นแนวทางในการรักษา

การพยาบาลก่อนเจาะไต เตรียมอุปกรณ์เพิ่ม ได้แก่ หมอนทราย และชุดเจาะไตปราศจากเชื้อ กระบอกฉีดยา ขนาด 2 มล. และขนาด 10 มล. หัวเข็ม ขนาด 18- 20G และขนาด 23-25 G เข็มเจาะไตพร้อมแกนเจาะ (stylet) ถ้วยใส่น้ำยา และสำลี ปากคีบ ผ้าก๊อซ ขนาด 2 x 2 นิ้ว จำนวน 2 ชิ้น ขวดเก็บตัวอย่างส่งตรวจพร้อมฝาปิด ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง

การพยาบาลก่อนเจาะไต เตรียมผู้ป่วยโดยจัดให้ผู้ป่วยอยู่ท่านอนคว่ำ ใช้หมอนทรายหรือผ้าหนุนใต้ท้อง ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง และหนุนแขนไว้ เตรียมสภาพแวดล้อม

การพยาบาลขณะเจาะไต ตรวจสอบให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิม สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงโดยสังเกตชีพจรการหายใจ เตือนให้หายใจตามที่แนะนำ (ขณะเจาะหายใจเข้าลึก ๆ แล้วกลั้นไว้) ในกรณีที่ช่วยแพทย์เก็บตัวอย่างส่งตรวจต้องระมัดระวังการปนเปื้อนเชื้อ เมื่อแพทย์เจาะเนื้อไตได้จำนวนตามต้องการ แพทย์จะดึงเข็มออก และปิดบริเวณที่เจาะให้แน่นด้วยผ้าก๊อซ และผ้าปิดแผลชนิดเหนียว

การพยาบาลหลังเจาะไต จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายทับแผลนาน 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นให้ลุกนั่งบนเตียงเท่าที่จำเป็น จนครบ 24 ชั่วโมง ดูแลให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 1 แก้ว ทุก 15 นาที จำนวน 4 ครั้ง และสังเกตสีปัสสาวะ ถ้ามีเลือดปนให้เก็บปัสสาวะไว้แล้วรายงานแพทย์ และงดรับประทานอาหาร ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา หากมีเลือดออกบริเวณรอยเจาะ เปลี่ยนผ้าก๊อซ หากมีเลือดออกมากบวมแดงผิดปกติ รายงานแพทย์ ปัสสาวะไม่ออก ไข้ เป็นลม รายงานแพทย์

การพยาบาลผู้ป่วยเจาะชิ้นเนื้อตับ การเจาะชิ้นเนื้อตับ (liver biopsy) การใช้เข็มเจาะผ่านหน้าท้อง เพื่อดูด ชิ้นเนื้อตับออกมา ตำแหน่งที่เจาะคือ บริเวณแนวกึ่งกลางรักแร้ ตัดกับช่องว่างระหว่างซี่โครง (intercostal spaces) ที่ 8-11

การพยาบาลผู้ป่วยเจาะชิ้นเนื้อตับ วัตถุประสงค์ วินิจฉัยโรคตับที่ไม่ทราบสาเหตุแน่นอน ค้นหาโรคตับที่เกิดจาก systemic diseases ติดตามการรักษาโรคตับ

การพยาบาลก่อนเจาะตับ เตรียมอุปกรณ์เพิ่ม ได้แก่ หมอนทราย และ ชุดเจาะตับปราศจากเชื้อ กระบอกฉีดยา สำหรับฉีดยาชา ขนาด 5 มล. และ 20 มล. หัวเข็ม ขนาด 18-19 G และขนาด 23-25 G หัวเข็มสำหรับเจาะชิ้นเนื้อตับ ใบมีดกรีดชายธง 1 เล่ม หรือ hepafix 1 ชุด ถ้วยใส่น้ำยา และสำลี ปากคีบ ปากคีบจับหลอดเลือด ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง ผ้าก๊อซขนาด 2x2 นิ้ว จำนวน 2 ชิ้น ขวดเก็บตัวอย่างส่งตรวจพร้อมฝาปิด

การพยาบาลก่อนเจาะตับ เตรียมผู้ป่วย จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงายราบ โดยนอนชิดริมเตียงด้านขวาของผู้ป่วย ศีรษะหนุนหมอนต่ำ ๆ แขนขวาวางเหนือศีรษะ หันศีรษะไปทางซ้าย ให้หายใจเข้า หายใจออกแล้วกลั้นหายใจขณะแพทย์แทงเข็ม ถ้าผู้ป่วยมีอาการไอต้องรายงานแพทย์ทราบ บอกผู้ป่วยห้ามไอ ห้ามหายใจลึก ๆ และห้ามเคลื่อนไหวร่างกายขณะเจาะ ถ้าจะไอให้ส่งสัญญาณให้ทราบ ถ้าผู้ป่วยมีอาการไอมาก แพทย์อาจให้ยาระงับไอ 1 ชั่วโมง ก่อนเจาะ เตรียมสภาพแวดล้อม

การพยาบาลขณะเจาะตับ ตรวจสอบอาการเปลี่ยนแปลง และสัญญาณชีพ ดูแลให้หายใจอย่างถูกวิธี เมื่อแพทย์ดึงเข็มออกจึงหายใจได้ตามปกติ ในกรณีที่ช่วยแพทย์เก็บตัวอย่างส่งตรวจต้องระมัดระวังการปนเปื้อนเชื้อ เมื่อแพทย์ตัดชิ้นเนื้อออกแล้ว ปิดบริเวณที่เจาะให้แน่นด้วยผ้าก๊อซ และผ้าปิดแผลชนิดเหนียว

การพยาบาลหลังเจาะตับ จัดท่านอนตะแคงขวาทับหมอนทรายประมาณ 2 ชั่วโมง จากนั้นจึงให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่ผู้ป่วยสบาย ห้ามไอ ห้ามออกแรง นอนพักต่อจนครบ 24 ชั่วโมง Obs. Discomfort and bruising at the biopsy site, Prolonged bleeding from the biopsy site, externally or internally เปลี่ยนผ้าก๊อซให้ ถ้ามีอาการผิดปกติให้รายงานแพทย์ ถ้าไม่มีอาการผิดปกติให้รับประทานอาหารและน้ำได้, Infection ห้ามทำงานหนัก ประมาณ 1 wk.

การพยาบาลผู้ป่วยเจาะไขกระดูก การเจาะไขกระดูก (bone marrow biopsy) การใช้เข็มเจาะผ่านกระดูกเพื่อดูดไขกระดูก และเนื้อเยื่ออื่น ๆ ออกมา ตำแหน่งที่เจาะคือ สันกระดูกสะโพก (iliac crest) บริเวณ anterior และ posterior iliac crest กระดูกหน้าแข้ง และกระดูกหน้าอกระหว่างซี่โครงที่ 2-3 บริเวณช่องอกได้

การพยาบาลผู้ป่วยเจาะไขกระดูก วัตถุประสงค์ ประเมินและวินิจฉัยโรคเลือด ประเมิน ติดตามผลการรักษาภายหลังได้รับยาเคมีบำบัด ติดตามการเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพของโรค การเพาะเชื้อโรคของไขกระดูก

การพยาบาลก่อนเจาะไขกระดูก เตรียมอุปกรณ์ ได้แก่ หลอดทดลอง (test tube) ที่มีเฮปาริน และหลอดทดลอง ที่ไม่มีเฮปาริน แผ่นสไลด์ หมอนใบเล็ก ชุดเจาะไขกระดูกปราศจากเชื้อ ;กระบอกฉีดยาสำหรับฉีดยาชา ขนาด 2 มล. และ 10 มล. หัวเข็ม ขนาด 23-25 G เข็มเจาะไขกระดูก พร้อม stylet ถ้วยใส่น้ำยา สำลี ปากคีบ ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง ผ้าก๊อซขนาด 2 x 2 นิ้ว จำนวน 2 ชิ้น ขวดเก็บตัวอย่างส่งตรวจพร้อมฝาปิด

การพยาบาลผู้ป่วยเจาะไขกระดูก เตรียมผู้ป่วย เจาะที่กระดูกหน้าอก นอนหงาย หมอนใบเล็กรองใต้หัวไหล่ทั้งสองข้าง ปิดตา เจาะที่สะโพกด้านหน้า นอนหงายหรือตะแคงด้านที่จะเจาะขึ้นบน เจาะที่สะโพกด้านหลัง ให้นอนคว่ำหรือตะแคงด้านที่จะเจาะขึ้นบน เตรียมสภาพแวดล้อม

การพยาบาลขณะเจาะไขกระดูก ตรวจสอบอาการเปลี่ยนแปลงและสัญญาณชีพ ในกรณีที่ช่วยแพทย์เก็บตัวอย่างส่งตรวจ ต้องระมัดระวังการปนเปื้อนเชื้อ ปิดบริเวณที่เจาะให้แน่นด้วยผ้าก๊อซ และผ้าปิดแผลชนิดเหนียว

การพยาบาลหลังเจาะไขกระดูก ให้ผู้ป่วยนอนทับบริเวณที่เจาะ ประมาณ 1 ชั่วโมง ตรวจสอบการเกิดเลือดออกบริเวณที่เจาะ เปลี่ยนผ้าปิดแผลให้ใหม่ ถ้าผิดปกติรายงานแพทย์ ถ้าไม่มีอาการผิดปกติให้รับประทานอาหารและน้ำได้

จบการนำเสนอบทที่ 14 นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบการสอน และหนังสือตามที่ปรากฏรายชื่ออยู่ในบรรณานุกรมท้ายบทที่ 14