ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์ ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลมณีราษฎร์คณาลัย การศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศึกษา) คณะเกษตรศาสตร์ บางพระ (ชลบุรี) การศึกษามหาบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปริญญาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ปัจจุบัน กำลังศึกษาหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขา การจัดการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน พ.ศ. ๒๕๓๑ ครู ร.ร.บ้านโนนรัง อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา พ.ศ. ๒๕๓๙ ครู ร.ร.หนองปรือแดงศิริราษฎร์ปราการ อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา พ.ศ. ๒๕๔๒ ครูใหญ่ ร.ร.บ้านหนองหัน อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา พ.ศ. ๒๕๔๓ ผู้ช่วยหัวหน้าการประถมศึกษากิ่งอำเภอลำทะเมนชัย จ.นครราชสีมา พ.ศ. ๒๕๔๕ ผู้ช่วยหัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอห้วยแถลง จ.นครราชสีมา พ.ศ. ๒๕๔๖ เจ้าหน้าที่บริหารการศึกษา สพท.นครราชสีมา เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๔๘ ผู้อำนวยการโรงเรียนกงรถราษฎร์สามัคคี สพท.นครราชสีมา เขต ๒ ปัจจุบัน ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลมณีราษฎร์คณาลัย สพป.นครราชสีมา เขต ๒ โทร. ๐๘๑-๔๗๐๖๔๑๓ e-mail : bossmana7@gmail.com
บ่นก่อน ทำไมต้องมีระบบควบคุมภายใน ? ยุ่งยาก ? ไม่เห็นมีประโยชน์ ? เพิ่มภาระ ? ? ? ?
1. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบควบคุมภายใน และ วัตถุประสงค์ของ การประชุมวันนี้ 1. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบควบคุมภายใน และ การจัดทำรายงานที่ถูกต้อง 2. การนำระบบการควบคุมภายในไปขับเคลื่อนภารกิจขององค์กร ได้อย่างมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ผลการปฏิบัติงานที่สำเร็จ สู่การพัฒนาองค์กรที่มีสมรรถนะสูง
สาระสำคัญ 1. ความหมายและความสำคัญของระบบควบคุมภายใน 2. แนวคิดและวิธีการของการจัดวางระบบควบคุมภายใน 3. การประเมินการควบคุมภายใน 4. การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง.
ระบบควบคุมภายใน ( The Internal Control System : ICS ) คำสำคัญ : KEY WORDS ระบบควบคุมภายใน ( The Internal Control System : ICS ) กระบวนการปฏิบัติงาน ที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรทุกระดับ ของหน่วยรับตรวจจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงานจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายใน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงาน
คำสำคัญ : KEY WORDS ความเสี่ยง ....! หมายถึงโอกาสที่จะเกิด ความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด มาตรฐาน ฝ่ายบริหารต้องประเมินความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจ อย่างเพียงพอและเหมาะสม
ความสัมพันธ์ของเป้าประสงค์ ความเสี่ยงและการควบคุม สิ่งที่ส่วนราชการต้องบรรลุ ความเสี่ยง สิ่งที่อาจขัดขวางหรือเป็นอุปสรรคทำให้ส่วนราชการไม่สามารถบรรลุเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ การควบคุม สิ่งที่จะช่วยให้ส่วนราชการบรรลุเป้าประสงค์ได้หากมีการบริหารจัดการที่ดี
ความแตกต่างระหว่างความเสี่ยงกับปัญหา Negative Event Risk and Problem ไม่เคยเกิด (มีโอกาสที่จะเกิด) เคยเกิดแล้ว อนาคต ปัจจุบัน มีโอกาสเกิดขึ้นอีก - เป็นกิจกรรมงานประจำ - มีแผนการจัดการแน่นอน กระทบต่อองค์กร ปัจจุบันไม่เกิดเหตุการณ์นั้นๆ Risk Problem อาจเกิดขึ้นในอนาคต ไม่แน่นอน เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก เกิดอยู่แล้วในปัจจุบัน แก้ไขสิ่งที่เกิดแล้ว ที่มา : http://rama4.mahidol.ac.th/risk_mgt/?q=mean
คำสำคัญ : KEY WORDS หน่วยรับตรวจ : สพฐ./ สพป./ สพม./สถานศึกษา ส่วนงานย่อย : สำนักใน สพฐ. / กลุ่มงานใน สพป. และ สพม./กลุ่ม,ฝ่าย ในสถานศึกษา หัวหน้าหน่วยรับตรวจ : เลขากพฐ./ ผอ.สพป./ ผอ.สพม. / ผอ.สถานศึกษา หัวหน้าส่วนงานย่อย : ผอ.สำนักในสพฐ./ ผอ.กลุ่มงาน ใน สพป.และ สพม./ หน.กลุ่ม หรือฝ่ายในสถานศึกษา
แนวคิดการควบคุมภายใน ของสพท./สถานศึกษา แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานประจำ และงานขับเคลื่อนกลยุทธ์ของทุกกลุ่มงาน บุคลากรทุกคนใน สพท./สถานศึกษามีบทบาทอำนาจ หน้าที่ทำให้ระบบควบคุมภายในเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล เป็นหลักประกันคุณภาพการศึกษา ว่าผลการทำงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายตามมาตรฐาน
องค์กร คน คน กิจกรรม คน หน่วยงาน คน กิจกรรม คน กิจกรรม หน่วยงาน 2/16/2019
1. เป็นมาตรฐานและภารงาน ความสำคัญและความจำเป็นของระบบควบคุมภายใน 1. เป็นมาตรฐานและภารงาน
การบริหารความเสี่ยงกับการควบคุมภายใน โอกาส ภาวะคุกคาม การบริหารความเสี่ยง สพฐ. /สพท. / โรงเรียน จุดแข็ง จุดอ่อน การควบคุมภายใน ( สมมาต, 2559 )
การบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ Good Governance องค์กร Internal Control Risk Management Internal Audit
การกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Governance) ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการที่ดีกับ การควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การตรวจสอบภายใน การกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Governance) การควบคุมภายใน ( Internal Control) การตรวจสอบภายใน ( Internal Audit ) การบริหารความเสี่ยง ( Risk Management) ( สมมาต,2559 )
การควบคุมภายในภาคราชการ การบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายตามนโยบายรัฐบาล การบริหารความเสี่ยงองค์กร แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี การควบคุมภายใน แผนของหน่วยปฏิบัติ Input งาน/โครงการ แผนปฏิบัติราชการ Process วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย แผนปฏิบัติการ Output ประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล / คุ้มค่า การประเมินผลการควบคุมภายใน PMQA/การประกันคุณภาพ โดย เกศริน ภัทรเปรมเจริญ
วงจรคุณภาพ กับระบบประกันคุณภาพภายใน P D C กำหนดมาตรฐาน จัดทำแผนพัฒนา จัดระบบบริหาร และสารสนเทศ ดำเนินการ ตามแผน ปรับปรุง/พัฒนา ตรวจสอบคุณภาพ ประเมินคุณภาพ รายงานประจำปี A
ความสำคัญและความจำเป็นของระบบควบคุมภายใน 2. เป็นกฎหมาย
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544
ส่วนที่ 1 ตัวระเบียบ มี 9 ข้อ ส่วนที่ 1 ตัวระเบียบ มี 9 ข้อ ระเบียบ ข้อ 4 ข้อ 5 และ ข้อ 6 มีความสำคัญ ข้อ 4 เป็นความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารที่ต้องนำ มาตรฐาน การควบคุมภายในมาวางระบบให้ มีประสิทธิภาพ สาระสำคัญ ระเบียบ คตง. พ.ศ.2544 ข้อ 5 ใช้มาตรฐานในการวางระบบควบคุมภายใน ให้เสร็จภายใน 1 ปี ข้อ 6 มีหน้าที่รายงานระบบการควบคุมภายใน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ภายใน 90 วัน นับแต่สิ้นปี งบประมาณ/ ปีปฏิทิน
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ของการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ การควบคุมภายใน 2. ความน่าเชื่อถือของการรายงาน ทางการเงิน 3. การปฏิบัติตามกฎหมาย และ ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐานการควบคุมภายใน มี 5 องค์ประกอบ ส่วนที่ 2 มาตรฐานการควบคุมภายใน มี 5 องค์ประกอบ สภาพแวดล้อมของการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศ และการสื่อสาร การติดตามประเมินผล
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม - ปรัชญาและรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร - ความซื่อสัตย์และจริยธรรม - ความรู้ ทักษะและความสามารถของบุคลากร - โครงสร้างการจัดองค์กร - การมอบอำนาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ - นโยบายและวิธีบริหารบุคลากร
ภาพความสัมพันธ์ขององค์ประกอบการควบคุมภายใน
2. การประเมินความเสี่ยง ต้องชัดเจน ทั้งภารกิจ และวัตถุประสงค์ ภารกิจ ขององค์กร วัตถุประสงค์ ระดับองค์กร กิจกรรมที่ทำให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ระดับกิจกรรม
ขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยง 1. ระบุปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก
2. การวิเคราะห์ระดับของความเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) 5 4 3 2 1 มีความเสี่ยงสูงมาก มีความเสี่ยงสูง มีความเสี่ยงปานกลาง มีความเสี่ยงต่ำ ผลกระทบของความเสี่ยง 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
การวัดระดับความรุนแรงของความเสี่ยง ความถี่ของการเกิดขึ้น ในอดีต โอกาสที่ จะเกิดขึ้น การคาดการณ์โอกาสที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ระดับ ความรุนแรง ผลกระทบที่เป็นตัวเงิน ผลกระทบ ผลกระทบที่ไม่ใช่ตัวเงิน มุมมองของสาธารณชน ผลสำเร็จของการดำเนินงาน
ความเสี่ยงที่เกิด ลดหรือป้องกันความเสี่ยงโดย “การบริหารความเสี่ยง” 3.การจัดการความเสี่ยง ความเสี่ยงที่เกิด ลดหรือป้องกันความเสี่ยงโดย “การบริหารความเสี่ยง” ยอมรับ : ผลกระทบไม่มาก เลี่ยงไม่ได้ มีระบบควบคุมที่มีประสิทธิภาพ ระบบข้อมูลเพียงพอ เข้าใจความเสี่ยงนั้นเป็นอย่างดี ถ่ายโอน : ผลกระทบมาก ไม่ชำนาญ เวลาน้อย เป็นการแบ่งความ รับผิดชอบให้ผู้อื่น หลีกเลี่ยง : ผลกระทบมาก ใช้งบสูง เลี่ยงได้ หลีกเลี่ยงความเสี่ยงนั้น ลด : อยู่ในวิสัย ลดได้ ป้องกันได้ ควบคุมโดยใช้”กระบวนการควบคุมภายใน”
3. กิจกรรมการควบคุม เป็นวิธีการต่างๆผู้บริหารที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งกำหนดหรือออกแบบเพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยต้องจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมที่ดี เพื่อป้องกันหรือลดความเสียหาย ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นและให้สามารถบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน เช่น กำหนดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์, บุคลากรทุกคนทราบและเข้าใจวัตถุประสงค์ของกิจกรรม, กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ ชัดเจน และเป็น ลายลักษณ์อักษร เป็นต้น
4. สารสนเทศและการสื่อสาร สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารทางการเงิน และข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ เกี่ยวกับการ ดำเนินงานของหน่วยงาน ไม่ว่าเป็นข้อมูลจากแหล่งภายใน หรือภายนอก การสื่อสาร หมายถึง การส่งสารสนเทศระหว่างบุคลากร
5. การติดตามประเมินผล เป็นวิธีการที่ช่วยให้ฝ่ายบริหารมั่นใจว่า ระบบการควบคุมภายในมีการปฏิบัติตาม โดยต้องจัดให้มีการติดตามประเมินผล ในระหว่างการปฏิบัติงาน และเป็นรายครั้ง อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจว่าระบบการควบคุมภายในที่กำหนดหรือออกแบบไว้เพียงพอ เหมาะสม มีประสิทธิผลหรือต้องปรับปรุง
แนวทางการติดตามประเมินผล และจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ประจำปี 2561
สพฐ.กำหนดหน่วยรับตรวจและส่วนงานย่อย ดังนี้ 1. สพฐ. 2. สพป./สพม. 3. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม/หน่วย กลุ่ม
แบบฟอร์มของส่วนงานย่อย แบบ ปย.1 แบบ ปย.2 แบบติดตาม ปย.2 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผน การปรับปรุง การควบคุมภายใน รายงานผล การประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน
แบบฟอร์มของหน่วยรับตรวจ แบบ ปอ.1 แบบ ปอ.2 แบบ ปอ.3 แบบ ติดตาม ปอ. 3 รายงานผล การติดตาม การปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน หนังสือรับรองการประเมินผล การควบคุมภายใน รายงานผล การประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน รายงานแผน การปรับปรุง การควบคุมภายใน
คำสำคัญ : KEY WORDS หน่วยรับตรวจ : สพฐ./ สพป./ สพม./สถานศึกษา ส่วนงานย่อย : สำนักใน สพฐ. / กลุ่มใน สพป. และสพม. /กลุ่ม,ฝ่าย ในสถานศึกษา หัวหน้าหน่วยรับตรวจ : เลขากพฐ./ ผอ.สพป./ผอ.สพม. / ผอ.สถานศึกษา หัวหน้าส่วนงานย่อย : ผอ.สำนักในสพฐ./ ผอ.กลุ่มในสพป.และ สพม./ หน.กลุ่ม หรือฝ่ายในสถานศึกษา
ระบบการควบคุมภายใน ประจำปี 2561 แบ่งออกเป็น 2 รอบ ดังนี้ การติดตามประเมินผล ระบบการควบคุมภายใน ประจำปี 2561 แบ่งออกเป็น 2 รอบ ดังนี้ รอบ 6 เดือน (เขต) รอบ 12 เดือน
รอบ 6 เดือน (สพฐ., สพป., สพม.) 1. ส่วนงานย่อยนำแบบ ปย.2 ของปี 60 มาติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการ ปรับปรุงการควบคุมภายใน แล้วสรุป ลงในแบบติดตาม ปย. 2 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มี.ค. 2561
รอบ 6 เดือน (สพฐ., สพป., สพม.) 2. ส่วนงานย่อยส่งแบบติดตาม ปย.2 ให้ผู้รับผิดชอบของหน่วยรับตรวจ 3. ผู้รับผิดชอบของหน่วยรับตรวจนำ แบบติดตาม ปย.2 มาสรุปใน แบบ ติดตาม ปอ.3 4. หน่วยรับตรวจ (เฉพาะ สพป./สพม.) ส่งแบบติดตาม ปอ. 3 ให้ สพฐ. ภายในวันที่ 30 เมษายน 2561 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มี.ค. 2561
รอบ 12 เดือน (สพฐ., สพป., สพม., โรงเรียน)
ขั้นตอนการประเมินและจัดทำรายงาน ก. ส่วนงานย่อย (สำนัก / กลุ่ม /งาน) 1. นำแบบ ปย.2 (ปี 60) มาติดตามผล การปฏิบัติงาน แล้วสรุปลงใน แบบติดตาม ปย. 2 (สพฐ.ได้กำหนด แบบให้) สิ้นสุด ณ วันที่ 30 ก.ย. 2561
สำนัก/กลุ่ม/งาน...................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 แบบติดตาม ปย. 2 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงานที่จะประเมินและวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) การควบคุม ที่มีอยู่ การ ประเมินผล ความเสี่ยง ปรับปรุง ควบคุม กำหนด เสร็จ/ผู้รับ ผิดชอบ วิธีการ ติดตามและ สรุปผลการประเมิน/ ข้อคิดเห็น (2) (3) (4) (5) (6) (7) ชื่อผู้รายงาน...........................ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........
วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น สำนัก/กลุ่ม/งาน...................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 แบบติดตาม ปย. 2 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ ด้านของงาน (1) ช่อง (2)-( 5) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (6) วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น (7) 1. วิธีการติดตามติดตามจากอะไร (เอกสาร/ สอบถาม/ สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง) 2. แต่ละกิจกรรมได้ดำเนินการตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในหรือไม่ อย่างไร 3. สรุปผลการดำเนินงาน
2. ประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน (5 องค์ประกอบ) (อยู่ในหนังสือหน้า 87-96) แล้วสรุปลงในแบบ ปย. 1 (อยู่ในหนังสือหน้า 58) สิ้นสุด ณ วันที่ 30 ก.ย. 2561
องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน / ข้อสรุป สำนัก/กลุ่ม/งาน....................................................... รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 ปย. 1 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน / ข้อสรุป 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล ชื่อผู้รายงาน...........................ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........
3. ประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง (CSA)
การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง Control self Assessment (CSA) ที่เป็นเจ้าของงานนั้น วิธีการ 1. นำกระบวนการปฏิบัติงานกับวัตถุประสงค์ของงานมาเชื่อมโยงกัน 2. ระบุการควบคุมภายในที่มีอยู่ของงานนั้น 3. ประเมินความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ ผลที่ได้/ประโยชน์ 1. ผู้ปฏิบัติเข้าใจกระบวนการทำงานและวัตถุประสงค์ของงานนั้น 2. เข้าใจความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ของงาน 3. สามารถกำหนดการควบคุมภายในที่จำเป็นเพื่อลดความเสี่ยงในระดับยอมรับได้ 4. สามารถกำหนดแผนปฏิบัติเพื่อปรับปรุงการควบคุมภายในให้เหมาะสม
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 1. ให้วิเคราะห์งาน/กิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูง พร้อมระบุวัตถุประสงค์ของงาน / กิจกรรมนั้น
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 2 งาน/กิจกรรมนั้นมีขั้นตอนหรือ กระบวนการปฏิบัติอะไรบ้าง หรือทำอย่างไร ที่จะทำให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 3 ให้วิเคราะห์ว่าขั้นตอนหรือ กระบวนการปฏิบัติจริง (จากข้อ 2) ในขณะประเมิน ปฏิบัติอย่างไร
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่4 จากกิจกรรมที่ปฏิบัติอยู่ผลการประเมิน เป็นอย่างไร (บรรลุวัตถุประสงค์ /ไม่บรรลุ วัตถุประสงค์) ถ้าไม่บรรลุวัตถุประสงค์มีความเสี่ยงอะไร
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 5 ให้พิจารณาว่า ถ้าพบยังมีความเสี่ยงอยู่ (ปัญหา) เกิดจากสาเหตุอะไร จะแก้ไขอย่างไร ใครเป็นคนแก้ไข
การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง Control self Assessment (CSA) กำหนดกิจกรรมการควบคุมใหม่หรือเพิ่มเติมเพื่อลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (แก้ที่ต้นเหตุ/สาเหตุ ) งานที่มีความเสี่ยงสูง CSA ประเมินการควบคุม ด้วยตนเอง ต้องการให้เกิดผลสำเร็จอะไร แผนปรับปรุง การควบคุม วัตถุประสงค์ ของงาน เข้าใจความเสี่ยง ที่อาจกระทบต่อ วัตถุประสงค์(หลัก) ขั้นตอนงาน มีอะไรบ้าง ปัจจัยเสี่ยงที่ยังมีอยู่ กระบวนการ ปฏิบัติงาน มีวัตถุประสงค์ (ย่อย)อะไรบ้าง กิจกรรมควบคุมที่มี ถ้างานยังมีความเสี่ยง วิเคราะห์หาต้นเหตุ/สาเหตุ เกิดจากอะไร(ปัจจัยภายใน หรือภายนอก) มี หรือไม่/ ถ้ามี อะไรบ้าง เช่น คู่มือการปฏิบัติงาน การรายงาน ถ้ามีประสิทธิภาพงานบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย (ไม่เสี่ยง) งานไม่บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย(เสี่ยง) การควบคุมไม่มีประสิทธิภาพ ( ที่มา :ปรับจากแนวทางวางระบบควบคุมภายในฯ, สตง.)
4. นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลืออยู่จากการติดตาม ปย 4. นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลืออยู่จากการติดตาม ปย.2 + ความเสี่ยงจากการประเมิน 5 องค์ประกอบ และการประเมิน CSA มาหามาตรการ/แนวทางในการควบคุม พร้อมทั้งกำหนด ผู้รับผิดชอบและระยะเวลาดำเนินการแล้วสรุปลงใน แบบ ปย.2(อยู่ในหนังสือหน้า 60)
กระบวนการปฏิบัติงาน/ ด้านของงานที่ประเมิน สำนัก/กลุ่ม/งาน............................. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561 แบบ ปย. 2 กระบวนการปฏิบัติงาน/ โครงการ/กิจกรรม/ ด้านของงานที่ประเมิน และวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) การควบคุม ที่มีอยู่ (2) การ ประเมินผล (3) ความเสี่ยง ที่ยังมียู่ (4) ปรับปรุง ควบคุม (5) กำหนด เสร็จ/ผู้รับ ผิดชอบ (6) หมายเหตุ (7) ชื่อผู้รายงาน...........................ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........
สรุปขั้นตอนการจัดทำรายงาน ก. ส่วนงานย่อย (สำนัก/กลุ่ม/งาน) แบบ ปย.2 (ปี 60 ) ประเมิน 5 องค์ประกอบ ประเมินด้วยตนเอง (CSA) แบบสอบถาม (ถ้ามี) แบบ ปย.1 แบบติดตาม ปย.2 แบบ ปย.2 ( ปี 60) แบบ ปอ.3 (สำนัก/กลุ่ม /งาน)
สรุปแบบรายงานที่ สำนัก /กลุ่ม/ งาน ต้องดำเนินการ แบบที่จัดส่งให้ผู้รับผิดชอบ - แบบ ปย. 1 - แบบ ปย. 2 - แบบติดตาม ปย. 2 แบบที่เก็บไว้ที่ สำนัก/กลุ่ม/งาน - แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ
ขั้นตอนการประเมินผลและจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ข. หน่วยรับตรวจ (สพฐ./สพป./สพม./โรงเรียน) ณ วันที่ 30 ก.ย. 61 1. แต่งตั้งคณะทำงาน/กรรมการ 2. นำแบบ ปอ.3 (ปี 60) มาติดตามผล การปฏิบัติงานแล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปอ.3 (สพฐ. กำหนดแบบให้)
สพฐ. /สพป. /สพม. /โรงเรียน สพฐ./สพป./สพม./โรงเรียน...................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 แบบติดตาม ปอ.3 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงานที่จะประเมินและวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ (2) งวด/เวลา พบจุดอ่อน (3) การปรับปรุง การควบคุม (4) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (5) วิธีการติดตามและ สรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น (6) ชื่อผู้รายงาน........................... ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........
วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น สพฐ./สพป./สพม./โรงเรียน....................... รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 แบบติดตาม ปอ.3 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงาน (1) ข่อง (2)-(4) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (5) วิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็น (6) 1.วิธีการติดตามติดตามจากอะไร(เอกสาร/ สอบถาม/ สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง ) 2. มีการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมหรือไม่ อย่างไร 3. สรุปผลการดำเนินงานให้ระบุเป็นร้อยละ/จำนวนพร้อมทั้งให้ความเห็นว่าจะต้องทำแผนการปรับปรุงเพิ่มเติมหรือความเสี่ยงลดลงอยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 3. ประเมินองค์ประกอบของการควบคุม ภายใน (5 องค์ประกอบ) (อยู่ในหนังสือหน้า 87-96) แล้วสรุปลงใน แบบ ปอ. 2 (อยู่ในหนังสือหน้า 52)
องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป สพฐ./สพป./สพม./โรงเรียน................................ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 แบบ ปอ.2 องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล ชื่อผู้รายงาน........................... ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 4. นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลือจากแบบติดตาม ปอ. 3 และจากการประเมิน 5 องค์ประกอบ และ แบบ ปย. 2 ของสำนัก/กลุ่ม/งานที่ส่งมาให้ คณะทำงาน/กรรมการพิจารณาคัดเลือกกิจกรรม เพื่อจัดทำ แบบ ปอ.3 (อยู่ในหนังสือหน้า 54)
สพฐ. /สพป. /สพม. /โรงเรียน สพฐ./สพป./สพม./โรงเรียน...................... รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2561 แบบ ปอ.3 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงานที่จะประเมินและวัตถุประสงค์ ของการควบคุม (1) ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ (2) งวด/เวลา พบจุดอ่อน (3) การปรับปรุง การควบคุม (4) กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ (5) หมายเหตุ (6) ชื่อผู้รายงาน.......................... ตำแหน่ง................................ วันที่.....เดือน.........พ.ศ.........
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 5. นำความเสี่ยงที่มีอยู่ในแบบ ปอ. 3 มาสรุปเป็นความเรียงลงใน แบบ ปอ.1 (แบบอยู่ในหนังสือ หน้า 50 - 51)
หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน แบบ ปอ. 1 วรรคที่ 1 (ชื่อหน่วยรับตรวจ) ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่............เดือน.............พ.ศ..... ด้วยวิธีการที่ (ชื่อหน่วยรับตรวจ)กำหนดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า วรรคที่ 2 จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ (ชื่อหน่วยรับตรวจ) สำหรับปีสิ้นสุด วันที่............เดือน................พ.ศ. .............. วรรคที่ 3 อนึ่ง การควบคุมภายในยังคงมีจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญดังนี้ 1………………………………………… 2………………………………………… ลายมือชื่อ.......................................................... (เลขาธิการ กพฐ./ผอ.สพป./สพม./ผอ.ร.ร.) วันที่ ............เดือน..............................พ.ศ...............
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน ระเบียบ คตง. ว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ ของ ผู้ตรวจสอบภายใน กำหนดหน้าที่ ดังนี้ ประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (CSA) สอบทานการประเมินผล สอบทานรายงาน จัดทำรายงานแบบ ปส.
รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน ของผู้ตรวจสอบภายใน (กรณีไม่มีข้อตรวจพบหรือข้อสังเกต) แบบ ปส. เรียน เลขาธิการ กพฐ. /ผอ. สพป. /ผอ.สพม. ข้าพเจ้าได้สอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของ....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)................ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ ......เดือน.............พ.ศ.......... การสอบทานได้ปฏิบัติอย่างสมเหตุสมผลและระมัดระวังอย่างรอบคอบผลการสอบทานพบว่าการประเมินผลการควบคุมภายในเป็นไปตามวิธีการที่กำหนดระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ชื่อผู้รายงาน....................................................... (ชื่อผู้อำนวยการหน่วยงานตรวจสอบภายใน) ตำแหน่ง........................................................... วันที่................ เดือน..................พ.ศ. .................
รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายใน ของผู้ตรวจสอบภายใน (กรณีที่มีข้อตรวจพบหรือข้อสังเกต) แบบ ปส. เรียน เลขาธิการ กพฐ. /ผอ. สพป. /ผอ.สพม. ข้าพเจ้าได้สอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของ....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)................ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ ......เดือน.............พ.ศ.......... การสอบทานได้ปฏิบัติอย่างสมเหตุสมผลและระมัดระวังอย่างรอบคอบผลการสอบทานพบว่าการประเมินผลการควบคุมภายในเป็นไปตามวิธีการที่กำหนดระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน อย่างไรก็ตามมีข้อสังเกตที่มีนัยสำคัญดังนี้........................................................................................ ......................................................................................................................................................... ชื่อผู้รายงาน....................................................... (ชื่อผู้อำนวยการหน่วยงานตรวจสอบภายใน) ตำแหน่ง........................................................... วันที่................ เดือน..................พ.ศ. .................
สรุปขั้นตอนการจัดทำรายงาน ข. หน่วยรับตรวจ (สพฐ./ สพป./ สพม./ ร.ร.) แบบปอ.3 ( ปี 60) ประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบ ปย.2 (ส่วนงานย่อย) แบบติดตาม ปอ. 3 แบบ ปอ.2 แบบปอ.3 ( ปี 60) แบบ ปอ.1 แบบ ปส.
สรุปแบบรายงานการควบคุมภายใน (สพฐ. /สพป./สพม./โรงเรียน) หน่วยรับตรวจ (สพฐ. /สพป./สพม./โรงเรียน) ส่วนงานย่อย (สำนัก/กลุ่ม/งาน) แบบรายงานที่ต้องจัดส่ง แบบ ปอ. 1 - สพฐ. ส่ง สตง. รมว.ศธ. คตป. - สพป./สพม. ส่ง สตง. สพฐ. คตป. ศธ. - โรงเรียน ส่ง สตง. สพป./สพม. แบบรายงานที่เก็บไว้ที่หน่วยงาน 1. แบบ ปอ. 2 2. แบบ ปอ. 3 3. แบบ ปส. (เฉพาะสพฐ./สพป./สพม.) 4. แบบติดตาม ปอ.3 5. แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบรายงานที่จัดส่งให้ 1. แบบ ปย. 1 2. แบบ ปย. 2 3. แบบติดตาม ปย.2 แบบรายงานที่จัดเก็บ - แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ
การจัดส่งรายงาน แบบ ปอ. 1 - ส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 แบบ ปอ. 1 คตป.ศธ. สพฐ. แบบ ปอ. 1 - ส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 ส่วนแบบ ปอ. 2 และปอ.3 เก็บไว้ที่หน่วยงาน แบบ ปอ. 1 สพป./สพม. แบบ ปอ. 1 ส่งเฉพาะแบบ ปอ. 1 - ส่วนแบบ ปอ. 2 และปอ.3 เก็บไว้ที่หน่วยงาน สตง. โรงเรียน แบบ ปอ. 1
ข้อเสนอแนะ การนำไปใช้ นำจุดอ่อนอย่างมีนัยสำคัญ (ใน ปอ.1 วรรคสามหรือ ปอ.3) สู่การแก้ไขหรือพัฒนาองค์กร โดยนำไปกำหนดเป็นโครงการ หรือกิจกรรม ในแผนปฏิบัติการประจำปี เท่านี้เราก็ไม่เสียแรงเปล่าแล้ว !
นายมานะ ครุธาโรจน์ http://www.maneerach.ac.th จบแล้วครับ นายมานะ ครุธาโรจน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลมณีราษฎร์คณาลัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 โทร 081-4706413 http://www.maneerach.ac.th