เภสัชวิทยา (Pharmacology)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
Advertisements

a Specific rotation polarimeter a [a] = c.l Sample cell t temperature
การสังเคราะห์ด้วยแสง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
ชีวเคมี II Bioenergetics.
Introduction to Enzymes
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
ENZYME.
การขนส่งอสุจิสู่ Epididymis
การผลิตเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
บทที่ 6 Alcohols and Ethers
บทที่ 3 Alkenes & Alkynes
Vilasinee Hirunpanich B. Pharm(Hon), MSc in Pharm (Pharmacology)
สรุปผลเยี่ยมดูงาน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
Introduction to Metabolism
RODENTICIDE Veerakit Techakitiroj M.Sc. in Pharm. (Pharmacology)
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
Biochemistry Quiz 2009.
การสังเคราะห์กรดไขมัน (ที่อยู่นอก Mitochondria)
Biosynthesis of Heme.
Citric Acid Cycle.
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
Reprod. Physio. of Domestic Animal
Nitrogen & Amino Acid Metabolism
Basic and Metabolism of Protein Donrawee Leelarungrayub (BSc, PT), (Ph.D. Biochem) Department of Physical Therapy Faculty of Associated Medical Sciences.
Applied Biochemistry 2 nd Semester 2015 Tue 5 Apr /25.
สุขสันต์เทศกาลบะจ่าง
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Taweesak Dhammaraj Faculty of Pharmacy Mahasarakham University
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
Photosynthesis กรวรรณ งามสม.
ยาที่ใช้ในโรคข้อเสื่อม
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
บทที่ 4 ฐานข้อมูลลูกค้า.
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
ชั่วโมงที่ 39 กรดนิวคลิอิก
ภารกิจในการจัดการด้านความมั่นคงชายแดน ส่วนกิจการชายแดนและผู้อพยพ
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
ข้อบังคับคณะกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
CARBOHYDRATE METABOLISM
Biochemistry II 2nd Semester 2018
LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - KETOGENESIS
Lec Soil Fertility and Plant Nutrition
เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อสารอินทรีย์
Drug-Drug Interaction
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
CARBOHYDRATE METABOLISM
OXIDATIVE PHOSPHORYLATION
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับแผนการจัดการเรียนรู้
ครูปฏิการ นาครอด.
การใช้ยา.
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
ข้อควรระวัง และการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น
ระบบขับถ่าย (Excretion). ระบบขับถ่าย (Excretion)
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุข ๑๐๐ ปี หมออนามัยห่วงใยประชาชน สร้างชุมชนปลอดขยะ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑.
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
กรอบแนวคิดชุดวิจัย Cluster วัยเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เภสัชวิทยา (Pharmacology) เภสัชจลนศาสตร์ : การเปลี่ยนแปลงยา Pharmacokinetics : Drug metabolism ผลึกพล ตาบทิพย์วรรณ crystalwart@hotmail.com

การเปลี่ยนแปลงยา (Drug metabolism) เภสัชวิทยา (Pharmacology) การเปลี่ยนแปลงยา (Drug metabolism)

การเปลี่ยนแปลงยา (Drug metabolism) เภสัชวิทยา (Pharmacology) การเปลี่ยนแปลงยา (Drug metabolism) หลังจากที่ยาได้รับการดูดซึมทางกระแสเลือดแล้ว จะเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงยาโดยอวัยวะสำคัญที่ทำหน้าที่นี้คือ ตัว (Liver)

เป็นอวัยวะที่มีขนาดใหญ่และมีเลือดมาเลี้ยงเป็นปริมาณมาก เภสัชวิทยา (Pharmacology) ตับ (Liver) เป็นอวัยวะที่มีขนาดใหญ่และมีเลือดมาเลี้ยงเป็นปริมาณมาก มีความสำคัญในเรื่องการเปลี่ยนแปลงและขจัดยากับสารพิษต่างๆให้ออกจากร่างกาย ยา สมุนไพร หรือสารเคมีบางชนิดทำให้เกิดพิษต่อตับ (Hepatotoxicity) เช่น paracentamol barakol

คำสำคัญที่จำเป็นต้องเข้าใจ เภสัชวิทยา (Pharmacology) คำสำคัญที่จำเป็นต้องเข้าใจ Prodrug คือสารตั้งต้นที่ยังไม่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา จนกว่าจะถูกเปลี่ยนแปลงยาเป็นสารที่ออกฤทธิ์ Metabolite คือสารที่ได้หลังจากที่ยาถูกเปลี่ยนแปลง Active metabolite คือสารที่เปลี่ยนแปลงแล้ว มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา Inactive metabolite คือสารที่เปลี่ยนแปลงแล้ว ไม่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา

วัตถุประสงค์สำคัญของการเปลี่ยนแปลงยา เภสัชวิทยา (Pharmacology) วัตถุประสงค์สำคัญของการเปลี่ยนแปลงยา ทำให้ยาหมดฤทธิ์ไป (Active  Inactive) ลดความเป็นพิษจากยาหรือสารนั้นๆ ทำให้เกิดเป็นสารที่ออกฤทธิ์ (Prodrug  Active) ขจัดออกจากร่างกายได้ง่ายขึ้น โดยส่วนใหญ่ทำให้ละลายน้ำได้มากขึ้น จึงขจัดออกทางไตได้ดี

ขั้นตอนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงยา เภสัชวิทยา (Pharmacology) ขั้นตอนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงยา ประกอบด้วย 2 ระยะที่สำคัญ ระยะที่ 1 (Phase I) ระยะที่ 2 (PhaseII) จะผ่านแค่ phase เดียว หรือ 2 phase ก็ได้

เภสัชวิทยา (Pharmacology) ระยะที่ 1 (Phase I) อาศัยปฏิกิริยาทางเคมี เช่น oxidation, reduction, hydrolysis เป็นต้น ระยะนี้จะเป็นระยะที่มีการเติมกลุ่มสาร (functional group) เช่น OH, -COOH, -SH, -O-, หรือ NH2 group เพื่อให้ละลายน้ำได้มากขึ้น ส่วนใหญ่จะทำให้สารนั้นหมดฤทธิ์ (Active  Inactive) อาศัยเอนไซม์ที่สำคัญมากคือ Cytochrome P450

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Cytochrome P450 system Cytochrome P450 ย่อได้ว่า CYP ปัจจุบันค้นพบว่าประกอบไปด้วยมากกว่า 50 isoforms จัดกลุ่มได้เป็น 10 family (CYP1-10) และแบ่งย่อยเป็น subfamily ได้ เช่น CYP3A4, CYP2D6 3 คือ Family, A คือ subfamily, 4 คือ ชนิดเอนไซม์ ในคน CYP ที่สำคัญอยู่ใน family CYP1, CYP2 และ CYP3

เภสัชวิทยา (Pharmacology) Cytochrome P450 system

เภสัชวิทยา (Pharmacology) ความสำคัญของ CYP มีความแตกต่างไปในแต่ละบุคคลและเชื้อชาติ ทำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยา (Drug interaction) Inducer คือ ยาหรือสารที่สามารถกระตุ้น enzyme ให้ทำงานได้มากขึ้น Inhibitor คือยาหรือสารที่สามารถยับยั้งการทำงานของ enzyme ได้ Substrate คือยาหรือสารที่เป็นถูกกระทำ

เภสัชวิทยา (Pharmacology) ความสำคัญของ CYP Inducer Enzyme ออกฤทธิ์ Substrate Inhibitor Enzyme ออกฤทธิ์

เภสัชวิทยา (Pharmacology) ความสำคัญของ CYP

เภสัชวิทยา (Pharmacology) ระยะที่ 2 Phase II ระยะนี้จะเกิดการสังเคราะห์หรือการรวมตัว เรียกว่า Conjugation Conjugation สามารถเกิดได้ไม่ว่าสารจะผ่าน phase I หรือไม่ผ่านก็ตาม Conjugation นี้จะเกิดขึ้นกับ glucuronic acid หรือ sulfuric acid ซึ่งเป็นสารที่มีขั้วมากขึ้น ระยะจะทำให้ยาละลายน้ำได้มากขึ้นและขจัดออกทางไตได้มากขึ้น

เภสัชวิทยา (Pharmacology) ระยะที่ 2 Phase II

เภสัชวิทยา (Pharmacology) ระยะที่ 2 Phase II

เภสัชวิทยา (Pharmacology) ระยะที่ 2 Phase II

Enterohepatic circulation เภสัชวิทยา (Pharmacology) Enterohepatic circulation ยาบางชนิด หลังจากผ่านการเปลี่ยนแปลงยาแล้ว จะมีการขับออกทางน้ำดีเข้าสู่ทางเดินอาหาร และถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารมายังตับอีกครั้ง ยาที่มีคุณสมบัติดังกล่าวจะถูกขจัดออกจากร่างกายได้ช้า ตัวอย่างยาเช่น digitalis, NSAIDs

เภสัชวิทยา (Pharmacology) First pass metabolism การเปลี่ยนแปลงยาที่เกิดขึ้นก่อนที่ยาจะเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือด หลีกเลี่ยงได้โดยการบริหารยาวิธีฉีด ทวารหนักและอมใต้ลิ้น

เภสัชวิทยา (Pharmacology) สรุปประเด็นสำคัญ Metabolism หรือการเปลี่ยนแปลงยาที่ตับ ส่วนใหญ่ทำให้ยาหมดฤทธิ์และขจัดง่ายขึ้น มี 2 phase CYP เป็น enzyme สำคัญใน phase I มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา Inducer, inhibitor, substrate Enterohepatic circulation First pass metabolism