นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
การเจริญเติบโตของปลาดุกทะเล (Plotosus canius Hamilton, 1822) ในระบบน้ำหมุนเวียน วลีรัตน์ มูสิกะสังข์ กฤษณา องอาจ พุทธ ส่องแสงจินดา.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
เอกภพหรือจักรวาล(Universe) หมายถึง ระบบรวมของกาแล็กซี
Material requirements planning (MRP) systems
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
หมวดที่ 6 การจัดซื้อ และจัดจ้าง
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
โครงสร้างระบบไฟฟ้ากำลัง
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
การเพิ่มประสิทธิภาพเซลล์แสงอาทิตย์โดยใช้แผ่นระบายความร้อนแบบมีครีบ
Elements of Thermal System
การประมาณโหลดไฟฟ้าเบื้องต้น Electrical Load Estimation
SMS News Distribute Service
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ผู้จัดทำวิจัย อิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Electrical Instruments and Measurements
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์ การผลิตก๊าซไฮโดรเจนโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ Hydrogen Gas Production Energized By Solar Energy ผู้จัดทำวิจัย นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์ 1

Outline วัตถุประสงค์ บทนำและทฤษฎี วิธีดำเนินการวิจัย ผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง สรุป อ้างอิง

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การแยกไฮโดรเจนด้วยวิธีอิเล็กโทรไลซิสแบบแยกเซลล์โดยใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ 2. เพื่อศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อการผลิตก๊าซไฮโดรเจนด้วยวิธีอิเล็กโทรไลซิสแบบแยกเซลล์ โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์

บทนำและทฤษฎี ไฮโดรเจนเป็นพลังงานสะอาดที่มีค่าความร้อนสูงใช้ได้ทั้งในระบบการเผาไหม้และเซลล์ เชื้อเพลิงโดยไม่ปล่อยมลพิษสู่สิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้ได้นำเสนอการศึกษาเชิงทดลองเกี่ยวกับระบบ ผลิตไฮโดรเจนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยวิธีอิเล็กโทรไลซิส ได้ทำการศึกษาและสร้างระบบแยกก๊าซ ไฮโดรเจนโดยใช้เซลล์แสงอาทิตย์แบบผลิตไฟฟ้าและน้ำร้อนร่วม(PV/T) เป็นแหล่งจ่ายพลังงาน มี การติดตั้งอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนโดยใช้น้ำร้อนที่ได้จากระบบ PV/T เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้กับ สารละลายอีกด้วยทำการทดสอบ และอุณหภูมิที่สามารถผลิตก๊าซไฮโดรเจนได้ดีที่สุด

บทนำและทฤษฎี (ต่อ) ผลการศึกษา พบว่า สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เป็นอิเล็กโทรไลต์ที่ ดีกว่าสารละลายอื่นที่ใช้ในการศึกษานี้อีกทั้งยังหาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาดและราคาถูก โดย สารละลายอิเล็กโทรไลต์ความเข้มข้น 0.1 โมลต่อลิตรผลิตก๊าซได้ดีที่สุดจากการที่ทดสอบ ร่วมกับน้ำร้อน พบว่าอัตราการผลิตก๊าซไฮโดรเจนและประสิทธิภาพในการผลิตสูงขึ้นเมื่อทำ การเพิ่มอุณหภูมิเริ่มต้นในการทดสอบ

วิธีการดำเนินงานวิจัย ค้นคว้าวิจัยและออกแบบอุปกรณ์แยกก๊าซไฮโดรเจน สร้างชุดอุปกรณ์แยกก๊าซ - ทดสอบสารละลาย Electrolyte - ทดสอบระยะที่เหมาะสมของ Electrode - ทดสอบอุณหภูมิของสารละลาย - ทดสอบอุปกรณ์รวมทั้งระบบ ทดสอบอุปกรณ์แยกก๊าซ  สรุปผลการทดลอง

เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 1. แผงโซล่าเซลล์ ขนาดกำลังไฟฟ้า 1kW สำหรับจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชุดอุปกรณ์ทดสอบ 2. แอมป์มิเตอร์ (AC Digital Clamp Meter) สำหรับวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่ป้อนให้ระบบและค่าที่เปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลาที่ทำทดสอบ 3. Digital Thermometer สำหรับวัดอุณหภูมิของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 4. เครื่องชั่งดิจิตอล สำหรับชั่งปริมาณตัวทำละลายของสารละลายอิเล็กโทรไลต์

การออกแบบอุปกรณ์แยกก๊าซไฮโดรเจน

การกักเก็บและการหาปริมาณก๊าซไฮโดรเจน

ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง ตาราง ปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนที่ผลิตที่ได้ค่ากระแสต่างกันจากการทดสอบของสารโซเดียมไฮดรอกไซด์ โวลต์ (V) กระแส (A) ความต้านทาน (Ω) เวลา (min) อุณหภูมิ (℃) ปริมาณของก๊าซไฮโดรเจนที่ได้ (g) 95.6 18.7 5.11 25 150 498 39.2 16.4 2.39 30 200 495

สรุปผลการทดลอง จากการศึกษาและทดสอบจะพบว่าความเข้มข้นของสารละลายจะมีผลโดยตรงต่อ การนำไฟฟ้าของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ถ้าความเข้มข้นสารละลายมากจะนำไฟฟ้าได้ดี แต่มีข้อเสียที่ใช้พลังงานมาก(กระแสสูง) ถ้าความเข้มข้นสารละลายน้อยจะนำไฟฟ้าได้ไม่ค่อย ดี ซึ่งสารละลายต่างชนิดกันจะเกิดการนำไฟฟ้าที่ต่างกันและทนการกัดกร่อนที่เวลาแตกต่าง กัน อุณหภูมิเริ่มต้นการทดลองมีผลต่ออัตราการผลิตก๊าซไฮโดรเจน ถ้าอุณหภูมิสูงจะใช้ ระยะเวลาในการผลิตก๊าซไฮโดรเจนได้น้อยกว่า

บทสรุป 1.สารอิเล็กโทรไลต์ที่ดีที่สุดในระบบการการผลิตก๊าซไฮโดรเจนโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์นี้คือ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 2. อุณหภูมิมีผลต่อการผลิตก๊าซไฮโดรเจน 3. เนื่องจากวัสดุที่ใช้ในมาใช้สร้างและทดลองครั้งนี้ทนต่อการสึกหรอได้ดี ปริมาณสารละลายต่ำ กระแสไฟฟ้าต่ำ ทำให้การบำรุงรักษาไม่ยุ่งยาก

อ้างอิง อิศกฤตา โลหพรหม. “การผลิตก๊าซไฮโดรเจนโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์” สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ,2557.

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ