รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ไฟฟ้าคืออะไร หนังสือวิทยาศาสตร์ หรือเว็บไซต์ต่างๆ ให้ความหมายที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น - ไฟฟ้า คือ พลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ความเค้นและความเครียด
การผลิตงานจากโลหะผง คุณลักษณะของโลหะผงที่สำคัญ กรรมวิธีผลิตโลหะผง
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
แผ่นดินไหว.
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
Chemistry Introduction
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 สารและสมบัติของสาร ว มัธยมศึกษาปีที่ 5.
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
ขดลวดพยุงสายยาง.
ศาสนาเชน Jainism.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
ATOM AND STRUCTURE OF ATOM
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์ รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์ อ.โสภณ มหาเจริญ บทที่ 1 ทฤษฎีไฟฟ้าพื้นฐาน โครงสร้างของอะตอมแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากฎของโอห์ม

วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงที่มาของพลังงานไฟฟ้า 1.2 เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ กฎต่างๆ ทางไฟฟ้า วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม นักศึกษาเข้าใจความสำคัญของอิเล็กตรอน และสามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่าง แรงดัน กระแส ความต้านทานได้

โครงสร้างของอะตอม อะตอมประกอบด้วยอนุภาคสำคัญ 3 ส่วนคือ อะตอม หมายถึง หน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ อะตอมประกอบด้วยอนุภาคสำคัญ 3 ส่วนคือ โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน

โครงสร้างของอะตอม โปรตอน มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก นิวตรอน มีคุณสมบัติเป็นกลางทางไฟฟ้า และอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ส่วนสำคัญที่เป็นใจกลางของอะตอมเรียกว่า นิวเคลียส ซึ่งประกอบด้วย โปรตรอนและนิวตรอน ส่วนอิเล็กตรอนนั้นจะโคจรอยู่รอบๆ นิวเคลียส

โครงสร้างอะตอม

อิเล็กตรอนอิสระ อะตอมของวัตถุ สสาร หรือธาตุต่างๆ เมื่อได้รับพลังงานหรือแรงกระตุ้น ส่งผลให้อิเล็กตรอนที่เบาและวิ่งเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสหลุดออกจากวงโคจรเดิมไปสู่วงโคจรของอะตอมข้างเคียง เป็นผลให้เกิดความไม่สมดุลของศักย์ไฟฟ้าขึ้นระหว่างประจุบวก (+) และประจุ (-) เกิดความต่างศักย์ทางไฟฟ้าขึ้นมาระหว่างอะตอม คืออะตอมที่ขาดอิเล็กตรอนไปจะแสดงอำนาจไฟฟ้าออกมาเป็นบวก (+) อะตอมที่มีอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้นจะแสดงอำนาจออกมาเป็น (-) อิเล็กตรอนตัวที่หลุดเคลื่อนที่ไปยังอะตอมอื่นๆ มีชื่อเรียกว่า "อิเล็กตรอนอิสระ" (Free Electron)

ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้จากแหล่งกำเนิดแตกต่างกัน แยกออกได้เป็น 6 วิธีดังนี้ ไฟฟ้าเกิดจากการเสียดสี เช่น  จากแท่งยางกับผ้าขนสัตว์  แท่งแก้วกับผ้าแพร  แผ่นพลาสติกกับผ้า  และหวีกับผม

ส่วนประกอบของโวลตาอิกเซลล์ ไฟฟ้าเกิดจากการทำปฏิกิริยาทางเคมี เกิดจากการนำโลหะ 2 ชนิดที่แตกต่างกันเช่น สังกะสีกับทองแดงจุ่มลงในสารละลายอิเล็กโทรไลท์ โลหะทั้งสองจะทำปฏิกิริยาเคมี กับสารละลายอิเล็กโทรไลท์   ส่วนประกอบของโวลตาอิกเซลล์

ไฟฟ้าเกิดจากความร้อน เกิดขึ้นได้โดยนำแท่งโลหะหรือแผ่นโลหะต่างชนิดกันมา 2 แท่ง หรือ 2 แผ่น เช่น ทองแดง และเหล็ก นำปลายข้างหนึ่งของโลหะทั้งสองต่อติดกันโดยการเชื่อมหรือยึดด้วยหมุด  ปลายที่เหลืออีกด้านนำไปต่อกับเข้ามิเตอร์วัดแรงดัน 

ไฟฟ้าเกิดจากแสงสว่าง สารบางชนิดเมื่ออยู่ในที่มืดจะแสดงปฏิกิริยาใดๆออกมา แต่เมื่อถูกแสงแดดแล้วสารนั้นสามารถที่จะปล่อยอิเล็กตรอน ได้

ไฟฟ้าเกิดจากแรงกดดัน ผลึกของวัตถุบางอย่างถ้า ถูกกดจะทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นได้ เช่น หินเขี้ยวหนุมาน หินทูมาลีน และเกลือโรเลล์ ซึ่งแสดงให้ เห็นได้อย่างดีว่าแรงกดเป็นต้นกำเนิดไฟฟ้า

ไฟฟ้าเกิดจากสนามแม่เหล็ก ไมเคิล ฟาราเดย์นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษพบว่าเมื่อนำแท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่ผ่าน ขดลวดหรือนำ ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้นในขดลวด

ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้จากแหล่งกำเนิดหลายๆ แบบ ซึ่งแบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ๆได้ดังนี้ ไฟฟ้าสถิต คือ ไฟฟ้าที่เกิดจากการเสียดสีเมื่อเอาวัตถุบางอย่างมาถูกันจะทำให้เกิดพลังงานขึ้น ซึ่งพลังงานนี้สามารถ ดูดเศษกระดาษหรือฟางข้าวเบาๆได้

ไฟฟ้ากระแส ไฟฟ้ากระแสคือ การไหลของอิเล็กตรอนภายใน ตัวนำไฟฟ้าจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งไฟฟ้ากระแสแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1.ไฟฟ้ากระแสตรง ( Direct Current หรือ D .C ) เป็นไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลไปทางเดียวตลอดระยะเวลาที่วงจรไฟฟ้าปิด 2.ไฟฟ้ากระแสสลับ ( Alternating Current หรือ A.C. )          เป็นไฟฟ้าที่มีการไหลกลับไป กลับมา ทั้งขนาดของกระแสและแรงดันไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ คือ กระแสจะไหลไปทางหนึ่งก่อน ต่อมาก็จะไหลสวนกลับแล้ว ก็เริ่มไหลเหมือนครั้งแรก

รูปสัญญาณไฟฟ้ากระแส

เปลี่ยนหน่วยทางไฟฟ้า หน่วยวัดพื้นฐานทางไฟฟ้า ได้แก่ แอมแปร์ A โวลต์ V และโอห์ม W ซึ่งจะใช้ในการแสดงปริมาณกระแสไฟฟ้า ขนาดของแรงดัน และค่าความต้านทาน เพื่อให้เกิดความสะดวกจึงมีการใช้ตัวคูณมาใช้ในการแสดงค่า หน่วยทางไฟฟ้า สัญลักษณ์ หน่วยเทียบ Mega M 1,000,000 Kilo K 1,000 Milli m 0.001 Micro u 0.000001

กฎของโอห์ม เขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ Current = Voltage Resistance R = (Resistance) ความต้านทาน V = (Voltage) แรงดันไฟฟ้า I = ( Current) กระแสไฟฟ้า

กำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า Electrical Power เป็นกำลังไฟฟ้าที่ใช้ไปในการทำให้เกิดพลังงานในรูปต่างๆ เช่น พลังงานความร้อน พลังงานแสงสว่าง พลังงานกล มีหน่วยเป็น วัตต์ Watt ใช้สัญลักษณ์เป็น " W " ตามชื่อของ James Watt ซึ่งกำลังไฟฟ้ามีสูตรการคำนวณดังนี้ Power = Voltage x Current P = กำลังไฟฟ้า V = แรงดันไฟฟ้า I = กระแสไฟฟ้า

สรุปประจำบท ไฟฟ้า คือพลังงานที่ได้จากการไหลของอิเล็กตรอน ทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า (V) จำนวนของอิเล็กตรอนมากน้อย (I) เรียกกว่ากระแสไฟฟ้า ส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าเปรียบเสมือนความต้านทานไฟฟ้า (R) แรงดันไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ ไฟฟ้ากระแสตรง แหล่งกำเนิดจากเซลล์พลังงานเช่น แบตเตอรี่ แผงโซลาเซลล์ และไฟฟ้ากระแสสลับ แหล่งกำเนิดจะได้จากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่เรียกว่าไดนาโม อาศัยหลักการหมุนขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็ก ด้วยแรงดันน้ำจากเขื่อน น้ำมัน ถ่านหิน เป็นต้น

แบบฝึกหัด 1. หน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุคือ ก. อะตอม ข. ธาตุ ค. ของเข็ง ง. ของเหลว 2. เซลล์ทุติยภูมิ คือแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงที่ได้จาก ก. กัลวานอมิเตอร์ ข. แบตเตอร์รี่ ค. ถ่านไฟฉายแบบชาร์ตไฟได้ ง. ถูกทั้ง ข.และ ค 3. สิ่งที่ทำให้อิเล็กตรอนเกิดการเคลื่อนที่คืออะไรอะไร ก. กระแสไฟฟ้า ข. แรงดันไฟฟ้า ค. ค่าความต้านทาน ง. กำลังไฟฟ้า 4. โวลต์คือหน่วยวัดของอะไร 5. โอห์ม คือหน่วยวัดอะไร

6. กฎของโอห์ม ให้ความสัมพันธ์ระหว่าง I และ V เป็นอย่างไร ก. แปรผันตรง ข. แปรผกผัน ค. ไม่แน่นอน ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข้อ ข 7. กำลังงานไฟฟ้า คำนวณได้จากผลคูณของกระแสไฟฟ้ากับอะไร ก. แรงดันไฟฟ้า ข. ค่าความต้านทานไฟฟ้า ค. แรงดัน ยกกำลังสอง ง. กำลังไฟฟ้า 8. พลังงานที่อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ต้องการจะมีค่าเป็นอย่างไร ก. เท่ากันหมด ข. ขึ้นอยู่กับชนิดของอุปกรณ์นั้นๆ ค. ไม่มีค่าแน่นอน ง. ไม่มีข้อใดถูก 9. หน่วยเทียบของมิลลิ มีค่าเท่ากับข้อใด ก. 100,000 ข. 1,000 ค. 0.001 ง. 0.000001 10. ค่าความต้านทานไฟฟ้ามีค่าเท่ากับ ก. P/I2 ข. I.V ค. P.I2 ง. I2.R