เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ School of Renewable Energy (SCORE) Maejo University ChIANG mai, Thailand การศึกษาศักยภาพการทำความเย็นของชุดทดสอบท่อใต้ดินแบบตัวยูเพื่อประยุกต์ใช้ในบ้านพักอาศัย The potential cooling study of U-tube heat exchanger for residential home application สุลักษณา มงคล โทรศัพท์ 0-5333-3194 โทรสาร 0-5333-3194 *E-mail: s_mongkon@hotmail.com ที่ความลึก 1 m และอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม และค่าความเร็วของอากาศที่ไหลผ่านท่อทางเข้าและท่อทางออก ทุกๆ 10 นาที ตั้งแต่เวลา 7.00 น -17.00 น. ของในแต่ละวัน ผลการทดลองที่ได้ถูกนำไปวิเคราะห์หาค่าการถ่ายเทความร้อน และสัมประสิทธิ์สมรรถนะของระบบ Objectives เพื่อศักยภาพการทำความเย็นของระบบท่อใต้ดินสำหรับนำไปประยุกต์ใช้ในบ้านพักอาศัย เพื่อวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของระบบที่ได้จากการทำความเย็นโดยใช้ท่อใต้ดิน Results Methods เมื่อทดสอบใช้งานในสภาวะอากาศต่างๆ พบว่า การใช้งานท่อใต้ดินทำความเย็นจะให้ผลดีที่สุดเมื่อใช้งานในสภาพอากาศที่แจ่มใสและมีอุณหภูมิแวดล้อมสูงตั้งแต่เวลา 9.00-17.00 น. สามารถลดอุณหภูมิอากาศที่ไหลเข้าท่อได้ 0-2.90 oC คิดเป็นค่าความร้อนที่ถ่ายเทสู่ดินได้ 6.15-112.80 W คิดเป็นค่าความจุความเย็น 3.19 kW/day และมีค่า COP แปรผันระหว่าง 0.25-2.81 แต่เมื่อเปรียบเทียบกับค่า COP ของเครื่องปรับอากาศขนาด 1 ตันความเย็น พบว่ามีศักยภาพเท่ากับ 87.27% ของเครื่องปรับอากาศ ซึ่งควรมีการปรับปรุงศักยภาพเพิ่มเติมในอนาคต รูปที่ 1 ระบบชุดทดสอบท่อใต้ดิน ระบบท่อใต้ดินสำหรับบ้านพักอาศัยในลักษณะชุดทดสอบท่อใต้ดินแบบตัวยู (U-tube heat exchanger) ทดสอบและติดตั้ง ณ วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ท่อใต้ดินทำจากท่อพีวีซี เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.08 m ความยาวท่อรวม 15.40 m ฝังในดินทรายที่มีค่าการนำความร้อนเท่ากับ 0.92 W/m-K ความลึก 1 m ใช้พัดลมดูดอากาศติดตั้งบริเวณปลายท่อทางออก ขนาดกำลังพัดลม 120 W ในการเก็บข้อมูลจะทำการวัดค่าต่างๆ ได้แก่ อุณหภูมิของอากาศที่ไหลเข้าท่อ อุณหภูมิของอากาศที่ไหลออกท่อ อุณหภูมิอากาศในท่อใต้ดิน อุณหภูมิผิวท่อใต้ดิน อุณหภูมิดิน รูปที่ 1 ค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของท่อใต้ดินที่สภาพอากาศต่างๆ มุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตสู่ความเป็นผู้อุดมด้วยปัญญา อดทน สู้งาน เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ