ประชุม คปสจ.ประจำเดือน สิงหาคม ๒๕๕๙

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผอ. พงษ์นรา เย็น ยิ่ง. อัตราบรรจุ ข้าราชการ -12 พนักงาน ราชการ -4 ลูกจ้าง -18 รวม -34 อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ - ถูกยืมตัว - ลาเรียน - ผอ. กองบูรณะและบำรุงรักษา.
นายสรกฤษณ์ เมือง สนธิ์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายวิชัย เพ็ญดี หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุภาภรณ์ ไชยเวช หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายจีระ.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
ข้อมูล EPI จาก HDC ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานผลการตรวจนิเทศราชการ คณะที่ 3 รอบที่ 2/2561
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุม คปสจ.ประจำเดือน สิงหาคม ๒๕๕๙ “CD HEART ควบคุมโรคฉับไว ภายใต้หัวใจเดียวกัน” H- Healthy E - Excellent A- Accurate R- Rapid T- Teamwork

การบาดเจ็บทางถนน Road Traffic Injury

การบาดเจ็บทางถนนจังหวัดสระแก้ว ปีงบประมาณ 2559 (ต.ค. 58–ก.ค.59) อัตราตายฯ 37.31 ต่อแสน ปชก. (206 ราย) เฉพาะคนสระแก้วตาย 28.07 ต่อแสน ปชก. (155 ราย) อัตราการตายฯ สูงกว่าเป้าหมาย (16 ต่อแสน ปชก.) ประเทศไทยปี 2558 อัตราตาย 19.51 ต่อแสน (12,767 ราย) เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2558 อัตราตาย 28.15 ต่อแสน (1,655 ราย) ที่มา; สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข การตายจาก RTI สระแก้ว ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม 2558 17 14 20 23 16 8 13 12 18 186 2559 15 25  28  29  21  19  18  20   206 การเปรียบเทียบ -2 -6 +6 +11 +14 +9 +3 +10 +7 +20

การวิเคราะห์ผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนสระแก้ว ประจำเดือน กรกฎาคม 2559 -ตายทั้งหมด 20 ราย เพศชาย 80.0% (16 ราย) -กลุ่มอายุ 61 ปีขึ้นไป 30.0% (6 ราย) -เวลาเกิดเหตุช่วง 12.01-15.00 น. 26.3% (5 ราย) -พื้นที่วังน้ำเย็น 25.0% (5 ราย) รองลงมาคือเมืองสระแก้ว วัฒนานคร และ อรัญฯ เท่ากัน 15.0% (3 ราย) โดยเป็นคนนอกจังหวัด ร้อยละ 5.0 (1 ราย) -จักรยานยนต์ 60.0% (12 คัน) คู่กรณีเป็นรถกระบะ 1 ตัน และรถบรรทุก เท่ากัน 20.0% (4 คัน) ตายที่จุดเกิดเหตุ 65.0% (13 ราย) -ไม่สวมหมวกนิรภัย 58.33% (7 ราย) และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์20.0% (4 ราย)

ผลสะท้อนการเสนอจุดเสี่ยงกรมการจังหวัดสระแก้ว คณะกรรมการความปลอดภัยทางถนน ประชุมพิจารณาแก้ไขจุดเสี่ยงฯของจังหวัด สสจ.สระแก้ววิเคราะห์จุดเสี่ยง 9 จุด/ไตรมาส ทางกายภาพ กรมทาง ดำเนินการ/แผนดำเนินการทุกแห่ง อำเภอ จุดเสี่ยงบูรณาการ 14 จุด เมืองสระแก้ว สี่แยกสาลาลำดวน 33 /สี่แยกสระขวัญ 317 คลองหาด โค้งเขาจันแดง 3395/โค้งบ้านหินกอง 4024 ตาพระยา สามแยกบายพาส 348/บ้านโคกกราด 3486 วังน้ำเย็น สามแยกหนองปรือ ตาหลังใน/สี่แยกคลองใหญ่ 3486 วัฒนานคร เลยหน้า รพ.วัฒนานคร(ต้นยางใหญ่) 3395 อรัญประเทศ หน้าโรงแรมอินโดจีน เขาฉกรรจ์ ทางหลวงบ้านวังรี 317 โคกสูง สี่แยกหนองแวง /ก่อนถึงจุดตรวจหนองแอก 200 ม. วังสมบูรณ์ ตลาดวังสมบูรณ์ -เน้นให้อำเภอ/ตำรวจ/อปท./สาธารณสุขบูรณาการดำเนินการบังคับกฎหมาย/ปรับเปลี่ยน เชิงพฤติกรรม - หน่วยงานของรัฐเข้มงวดสวมหมวกนิรภัย

โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า (1) พื้นที่ระบาด ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน ได้แก่ บราซิล โคลอมเบีย เอลซัลวาดอร์ เฟรนช์เกียนา กัวเตมาลา เฮติฮอนดูรัส มาร์ตีนิก เม็กซิโก ปานามา ปารากวัย ซูรินาเม เวเนซุเอลา และ เครือรัฐเปอร์โตริโก เชื้อไวรัสซิกา อยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส (flavivirus) จําพวกเดียวกับ ไวรัสไข้เหลือง ไวรัสเดงกี ไวรัสเวสต์ไนล์ และไวรัสไข้สมองอักเสบเจอี มียุงลายเป็นแมลงนําโรค ระยะฟักตัวเฉลี่ย 4-7 วัน สั้นสุด 3 วัน และยาวสุด 12 วัน อาการ ไข้ออกผื่น ตาแดง ปวดข้อ ข้อบวม ปวดหลัง ยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์ซึ่งอาจทําให้เด็กทารกที่คลอดมา มีสมองเล็ก (microcephaly) หรือมีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์

โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า (2) กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ที่เดินทางไปในพื้นที่ที่มีการระบาดอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ อาจติดเชื้อแล้วทําให้ทารกมีศีรษะเล็ก และสมองฝ่อได้ ไทย พบผู้ป่วยยืนยันตั้งแต่ปี 2555 โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 5 ราย ซึ่งประเทศไทยมีระบบเฝ้าระวัง โรคนี้แล้ว ตั้งแต่ปี 2556 กรณี ผู้เดินทางกลับจากประเทศเสี่ยง รวมทั้งหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในไทย มีอาการไข้ออกผื่น ตาแดง หรือปวดข้อ ***เข้ารับการรักษาและปรึกษาได้ที่ คลินิกเวชศาสตร์ การท่องเที่ยว และ การเดินทาง สถาบันบําราศนราดูร และ รพ.เวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล ***ในพื้นที่ต่างจังหวัด รับการรักษาได้ที่โรงพยาบาลของรัฐทุกแห่ง

โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า (3) การตรวจวินิจฉัยโรคยืนยัน โดยการตรวจเลือดผู้ป่วยในระยะเฉียบพลัน - เพื่อตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสซิกา ****ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันเฉพาะ การรักษาตามอาการเพื่อบรรเทา การเจ็บป่วย การป้องกัน ดำเนินการเหมือนไข้เลือดออก หากมีอาการสงสัยให้รีบไปพบแพทย์เพื่อรับการรักษาโดยเร็ว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่สายด่วน กรมควบคุมโรค 1422

ตารางแสดง ตำบลเกิดโรคไข้เลือดออกสูงสุด (24กรกฎาคม-26สิงหาคม2559) อันดับ ตำบล อำเภอ จำนวน(ราย) หมู่บ้านที่เสี่ยง 1 หนองหว้า เขาฉกรรจ์ 5 ม.5 บ้านหนองหว้า 2 ราย , ม.9 บ้านทรัพย์สมบูรณ์ 1 ราย, ม.24ลานไผ่ 2 ราย 2 เขาสามสิบ ม.13 บ้านจัดสรร 1 ราย หมายเหตุ : พื้นที่เสี่ยง คือ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยย้อนหลัง 4 สัปดาห์ ข้อมูลจาก รง.506 ณ วันที่ 26 ส.ค.59

ร้อยละของเด็กอายุครบ1ปีที่ได้รับวัคซีนMMR1 จ.สระแก้ว ปี 2559 ลำดั บ อำเภอ รวมทั้ง ปีงบประมาณ เป้าหมาย ผลงาน MMR (%) 1 คลองหาด 349 318 91.12 2 ตาพระยา 487 434 89.12 3 โคกสูง 223 203 91.03 4 วัฒนานคร 617 541 87.68 5 อรัญประเทศ 591 521 88.16 6 เมืองสระแก้ว 880 784 89.09 7 วังสมบูรณ์ 287 227 79.09 8 เขาฉกรรจ์ 431 354 82.13 9 วังน้ำเย็น 503 395 78.53 รวม 4,368 3,777 86.22 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 95 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 30 ส.ค.59

ร้อยละของเด็กอายุครบ1ปีที่ได้รับวัคซีนMMR 2 จ.สระแก้ว ปี 2559 ลำดั บ อำเภอ รวมทั้ง ปีงบประมาณ เป้าหมาย ผลงาน MMR (%) 1 ตาพระยา 595 415 69.75 2 โคกสูง 260 190 73.08 3 เขาฉกรรจ์ 639 447 69.95 4 คลองหาด 443 274 61.85 5 อรัญประเทศ 765 491 64.18 6 เมืองสระแก้ว 1,048 649 61.93 7 วังน้ำเย็น 601 360 59.9 8 วัฒนานคร 777 429 55.21 9 วังสมบูรณ์ 359 206 57.38 รวม 5,487 3,461 63.69 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 95 ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 30 ส.ค.59