การสำรวจและอธิบายข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบสอบถามประกอบการศึกษา
Advertisements

สถิติที่ใช้ในการวิจัย
ผ.ศ(พิเศษ).น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
4.ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio scale)
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
การวิเคราะห์ข้อมูล.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
การแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
การวัดและประเมินผลการศึกษา
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
คะแนนและความหมายของคะแนน
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
ความรู้พื้นฐานการให้รหัสโรค BASIC ICD-10
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 MLP รายวิชาพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 MLP รายวิชาพื้นฐาน
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
Two-phase Method (เทคนิค 2 ระยะ)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
บทที่ 4 การกำหนดกรอบแนวคิดตัวแปร และสมมติฐานของการวิจัย
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน ม.4/1 – ม.4/4
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 MLP รายวิชาพื้นฐาน
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสำรวจและอธิบายข้อมูล ชญานิษฐ์ เพ็ชรรัตน์ หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การสำรวจและอธิบายข้อมูล ตาราง การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยตาราง การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิ

ตาราง

ตาราง ตารางแจกแจงความถี่ (frequency table) หมายถึง ตารางที่มีข้อมูลเป็นตัวเลขแสดงความถี่ ตัวอย่าง ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยจำแนกตามเพศ เพศ จำนวน (คน) ชาย 12 หญิง 14 รวม 26

ตาราง ตารางทางเดียว (one-way table) หมายถึง ตารางที่มีรายการจำแนกรายการบนหัวเรื่องด้านเดียวกัน ตัวอย่าง ตารางแสดงจำนวนเหตุการณ์ตามลักษณะสถานที่เกิดเหตุ (ICD-10 place of occurrence code) (ที่มา: รายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ประจำเดือนเมษายน 2554) อันดับ ลักษณะสถานที่เกิดเหตุ จำนวนเหตุการณ์ 1 ถนนหรือทางหลวง 21 2 สถานที่ค้าขายสินค้าและบริการ 5 3 บ้าน ที่อยู่อาศัยส่วนตัว 4 สถานที่อื่น ๆ นา ไร่ สวน

ตาราง ตารางหลายทาง (multi-way table) หมายถึง ตารางที่มีการจำแนกรายการบนหัวเรื่องหรือรายการ ตัวอย่าง ตารางแสดงคุณภาพการดูแลขณะนำส่งจากจุดเกิดเหตุ การดูแลขณะนำส่ง เหมาะสม ไม่เหมาะสม ไม่มี จำนวน % การหายใจ 2 6.7 1 3.3 27 90 การห้ามเลือด 11 25.6 2.3 31 72.1 C-Spine Collar 4 66.7 - 33.3 Splint / Slab 3 11.1 3.7 23 85.2 IV fluid 30 100

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยตาราง

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยตาราง ตัวแปรกลุ่ม (Nominal or ordinal scale/categorical variable) ให้เสนอด้วยจำนวนความถี่หรือร้อยละ ลักษณะพื้นฐานกลุ่มตัวอย่าง จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย หญิง 156 698 18.3 81.7 สถานภาพ โสด สมรส หย่าร้าง หม้าย 409 407 22 11 48.2 47.9 2.6 1.3

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยตาราง ตัวแปรต่อเนื่อง (Interval or ratio scale/continuous variable) ข้อมูลมีการกระจายแบบปกติ ให้นำเสนอด้วยตารางแสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตัวอย่าง ตารางแสดงความพึงพอใจต่อการจัดสัมมนา ความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย SD ด้านกิจกรรม 4.45 0.78 ด้านการมีส่วนร่วม 4.4 0.67 ความพร้อมของสื่อ 4.49 0.81 การให้ความรู้ของวิทยากร 4.65 0.62 ด้านสถานที่ 4.37 0.83

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยตาราง ตัวแปรต่อเนื่อง (Interval or ratio scale/continuous variable) ข้อมูลมีการกระจายแบบไม่ปกติ ให้นำเสนอด้วยตารางแสดงค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ตัวอย่าง ตารางแสดงระยะเวลาการรักษาตัวในโรงพยาบาล และค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ เฉลี่ย ค่ามัธยฐาน (IQR) รวม การรักษา (วัน) 1 (1-1.5) 293 ค่าใช้จ่าย (บาท) 293 (90-3,250) 527,292

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิ

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิเส้น ใช้สำหรับแสดงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลตามช่วงเวลา โดยการลากเส้นเชื่อมต่อปริมาณข้อมูลของแต่ละช่วงเวลา

แผนภูมิแสดงจำนวนเหตุการณ์รายเดือนตั้งแต่เดือนมกราคม 2547 เปรียบเทียบกับข้อมูลจำนวนเหตุการณ์เฉลี่ยรายเดือนของศวชต. ซึ่งเป็นเหตุการณ์ความไม่สงบทุกประเภททั้งที่มีและไม่มีผู้บาดเจ็บ (ที่มา: รายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากความรุนแรง ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ประจำเดือนเมษายน 2554)

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิแท่ง ใช้สำหรับการแจกแจงข้อมูลกลุ่ม โดยจะใช้ความยาวหรือความสูงของแท่งแทนค่าข้อมูล (เช่น จำนวน สัดส่วน) ของแต่ละกลุ่มเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของข้อมูล

แผนภูมิแสดงจำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิต ตามจังหวัดที่เกิดเหตุ เรียงลำดับตามจำนวนผู้บาดเจ็บ (ที่มา: รายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากความรุนแรง ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ประจำเดือนเมษายน 2554)

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิวงกลม ใช้สำหรับการแจกแจงข้อมูลกลุ่ม เมื่อต้องการแสดงสัดส่วนของลักษณะที่ศึกษา ใช้พื้นที่ในแต่ละส่วนของวงกลมบอกสัดส่วนของแต่ละลักษณะ ให้ผลเช่นเดียวกับแผนภูมิแท่ง แต่ถ้าแสดงข้อมูลหลายกลุ่มมากเกินไปจะแสดงผลไม่ชัดเจนเท่ากับการใช้แผนภูมิแท่ง

แผนภูมิแสดงจำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกจำแนกตามเพศปี พ.ศ. 2543

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิฮิสโทแกรม ใช้เพื่อแสดงลักษณะการกระจายของข้อมูลต่อเนื่อง โดยการนำข้อมูลต่อเนื่องมาแบ่งเป็นชั้น ๆ เพื่อแจกแจงความถี่และเปรียบเทียบข้อมูล โดยให้ความสูงของแท่งเป็นสัดส่วนกับจำนวนความถี่ของข้อมูลในแต่ละชั้น

แผนภูมิแสดงการกระจายของอายุ จำแนกเพศ (ที่มา: http://www2.warwick.ac.uk/fac/sci/moac/degrees/modules/ch923/r_introduction/histograms_etc )

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิจุด ใช้กับข้อมูลต่อเนื่องที่มีจำนวนข้อมูลไม่มากนัก แกนนอนของกราฟจะแสดงหน่วยวัด จุดแต่ละจุดแทนจำนวนข้อมูลแต่ละตัว แผนภูมิจุดใช้แสดงลักษณะการแจกแจงข้อมูลของตัวแปรชุดเดียวกัน หรือใช้เปรียบเทียบการแจกแจงของข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไปก็ได้

แผนภูมิแสดงจำนวนเหตุการณ์จำแนกตามจังหวัดและเวลาที่เกิดเหตุการณ์ (1 จุดแทน 1 เหตุการณ์) (ที่มา: รายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากความรุนแรง ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ประจำเดือนเมษายน 2554)

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิกล่อง ใช้แสดงการกระจายของข้อมูล ประกอบกับค่า percentile ตำแหน่งต่าง ๆ รวมทั้งค่าต่ำสุดและสูงสุดของข้อมูล

MAX excluding OUTLIER MIN excluding OUTLIER

แผนภูมิแสดงจำนวนเด็กที่คลอดในโรงพยาบาล จำแนกวันในสัปดาห์ (ที่มา: http://www.stat.sfu.ca/~cschwarz/Stat-201/Handouts/node35.html )

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยแผนภูมิการกระจาย ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่อเนื่อง 2 ตัวแปร

แผนภูมิแสดงการกระจายความสัมพันธ์ของน้ำหนักและส่วนสูง อายุ 10-15 ปี