อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน
Advertisements

ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
ระบบโทรคมนาคม.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ส่งอาจาร์ยสายฝน เอกกันทา
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
Communication Software
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล.
ครูสุนทร ยี่สุ้น จบการศึกษา : วิศวคอมพิวเตอร์ Website : 1.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
ที่ปรึกษาโครงการ 1. นายประวัติวิทย์ สวัสดิ์ดวง ผส.ชป.13 ประธานที่ปรึกษา 2. นายไพศาล พงศ์นรภัทร ผชช.ชป.13 ที่ปรึกษา 3. นายไพรัตน์ ทับประเสริฐ.
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networking)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : Cryptography & Steganography Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล I
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
ระบบโครงข่ายโทรศัพท์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สรุปงานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 1 : การสร้างการเชื่อมต่อบนอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
สินค้าและบริการ.
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 3 : การตั้งค่าอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย วค101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทอร์มินัลกับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์กับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์กับเครือข่ายท้องถิ่น ไมโครคอมพิวเตอร์กับอินเทอร์เน็ต

การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2) เครือข่ายท้องถิ่นกับเครือข่ายท้องถิ่น เครือข่ายท้องถิ่นกับเครือข่ายระดับเมือง เครือข่ายท้องถิ่นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เครือข่ายส่วนบุคคลกับเวิร์กสเตชั่น ดาวเทียมและไมโครเวฟ โทรศัพท์ไร้สาย

เทอร์มินัลกับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Terminal-to-Mainframe Computer Configurations) ใช้ในช่วงปี 1960-1970 คอมพิวเตอร์เทอร์มินัลจะ มีเพียงจอภาพและคีย์บอร์ด เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ จะเป็นตัวจัดสรรทรัพยากรทั้งหมด ปัจจุบัน

ไมโครคอมพิวเตอร์กับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Microcomputer-to-Mainframe Computer Configurations) เริ่มนำไมโครคอมพิวเตอร์ (หรือ PC) มาใช้ ในช่วงปลาย 1970-1980 เพื่อทดแทน เครื่องเทอร์มินัล เพราะไมโครคอมพิวเตอร์มีการ ประมวลผลในตัวเอง การเชื่อมต่อกับเมนเฟรมต้องใช้ Terminal- Emulation Card โดยไมโครคอมพิวเตอร์จะ สามารถคัดลอกข้อมูลจากเครื่องเมนเฟรมได้

ไมโครคอมพิวเตอร์กับเครือข่ายท้องถิ่น (Microcomputer-to-LAN Configurations) เป็นรูปแบบการเชื่อมต่อที่พบเห็นได้ตามสำนักงาน ทั่วๆไป โดยเครื่องเซิร์ฟเวอร์ไม่จำเป็นต้องเป็น เครื่องระดับใหญ่อย่างเมนเฟรม แต่สามารถนำ ไมโครคอมพิวเตอร์มาใช้งานแทนก็ได้ อาจจะใช้ เครื่องเซิร์ฟเวอร์หลายๆเครื่องเพื่อรับผิดชอบงาน เฉพาะด้าน

ไมโครคอมพิวเตอร์กับอินเทอร์เน็ต (Microcomputer-to-Internet Configurations) การนำไมโครคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงเข้ากับเครือข่าย อินเทอร์เน็ตจำเป็นต้องใช้โปรโตคอล TCP/IP เพื่อให้คอมพิวเตอร์สื่อสารกันได้

เครือข่ายท้องถิ่นกับเครือข่ายท้องถิ่น (LAN-to-LAN Configurations) องค์กรแต่ละองค์กรไม่จำเป็นต้องมีหนึ่งวงแลน เสมอไป อาจมีวงแลนหลายๆวงมาเชื่อมต่อกันได้ โดยจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์อย่าง Bridge, Switch หรือ Router ในการเชื่อมต่อวงแลนเข้าด้วยกัน

เครือข่ายท้องถิ่นกับเครือข่ายระดับเมือง (LAN-to-MAN Configurations) ช่วงปลายศตวรรษที่ 20 เกิดการเชื่อมโยง ระบบงานธุรกิจภายในเขตเมืองเดียวกันเป็นระบบ เครือข่าย โดยใช้สายไฟเบอร์ออปติกที่มีความเร็ว ในการรับส่งข้อมูลสูง

เครือข่ายท้องถิ่นกับอินเทอร์เน็ต (LAN-to-Internet Configurations) โดยทั่วไปในเครือข่ายท้องถิ่นจำเป็นที่จะต้องมีการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการ เชื่อมโยงเครือข่ายท้องถิ่นเข้ากับอินเทอร์เน็ตด้วย โดยใช้ Router ในการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย ทั้งสอง

เครือข่ายส่วนบุคคลกับเวิร์คสเตชั่น (PAN-to-Workstation Configurations) PAN (Personal Area Network) จัดเป็นเครือข่าย รูปแบบใหม่ที่เริ่มใช้งานเมื่อปี 1990 โดยมีอุปกรณ์ พกพาที่สามารถเชื่อมต่อและส่งผ่านข้อมูลแบบไร้ สายได้ อุปกรณ์เหล่านี้สามารถเชื่อมต่อกับเวิร์คส เตชั่นเพื่อรับส่งข้อมูลได้ LAN Workstation PAN

ดาวเทียมและไมโครเวฟ (Satellite and Microwave Configurations) เป็นเทคโนโลยีที่นำมาใช้อย่างแพร่หลาย ซึ่งหาก เครือข่ายไมโครเวฟสองเครือข่ายมีระยะห่างไกลกัน มาก ไม่สามารถเชื่อมโยงผ่านสายได้เลย ดังนั้น การส่งผ่านข้อมูลด้วยการใช้ดาวเทียมจึงเป็น ช่องทางหนึ่งที่ทำให้เครือข่ายเชื่อมต่อกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

โทรศัพท์ไร้สาย (Wireless Telephone Configurations) โทรศัพท์ไร้สายจะเชื่อมต่อไปยังเสาสัญญาณ โทรศัพท์ที่อยู่ใกล้ จากนั้นเสาสัญญาณนี้จะทำ หน้าที่ในการถ่ายโอนข้อมูลไปยัง Mobile Switching Centerเพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ตหรือ โทรศัพท์ต่อไป