การกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดทำข้อมูลพื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ธาตุอาหารพืช Macronutrients : N, P, K, Ca, Mg, S
Advertisements

สารที่เข้ากันไม่ได้.
ปัญหาคุณภาพน้ำและแนวทางแก้ไขในกรมชลประทาน
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดสารเคมีอันตรายที่ให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 7 เมษายน พ.ศ.2552.
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
Proficiency testing 2009 Microbiology Chemical Environmental Physical Calibration.
การลงบันทึกผลการตรวจสุขภาพ
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2559 อาหาร สิ่งแวดล้อม เคมี ฟิสิกส์ สอบเทียบ.
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
การจัดการดินและปุ๋ยสำหรับผักสวนครัว
อันตรายจากการประกอบอาชีพที่สัมผัสกับสารเคมีและสารกำจัดศัตรูพืช
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 7 มิถุนายน 2560.
อินทรียวัตถุในดิน (Soil Organic Matter).
แนวทางและประสบการณ์ การฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
(Introduction to Soil Science)
โรคจากการประกอบอาชีพ
(Introduction to Soil Science)
รายการวัสดุอ้างอิง (RM) และตัวอย่างควบคุม (Qc sample) สำหรับห้องปฏิบัติการ NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it.
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียงพ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
Analysis of wastewater from power plant
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล
ICD-10-TM Simplified Version โดย นายกิตติกวิน บุญรัตน์
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ประกาศกรมเจ้าท่า ที่ 164/2560
มลพิษทางดิน (Soil Pollution or land Pollution)
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 76/2560 เรื่อง กำหนดมาตรฐานทั่วไปในการระบาย น้ำเสียลงสู่ระบบบำบัดน้ำเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ICD 10 TM for PCU ศวลี โสภา เจ้าพนักงานเวชสถิติชำนาญงาน โรงพยาบาลสตูล.
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
ความรู้พื้นฐานการให้รหัสโรค BASIC ICD-10
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
ปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
122351/ Soil Fertility and Plant Nutrition
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรมและเขตประกอบการอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
การกำจัดขยะและสารเคมี
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
สิ่งแวดล้อมกับคุณภาพชีวิต
ปัจจัยต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีและการพัฒนา ที่มีผลกระทบกับทรัพยากร
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2562
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผลงานจ้างเหมาซ่อมบำรุงรักษาทางรถไฟและอื่นๆ ประจำปี 2560
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชา ว21101
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดทำข้อมูลพื้นฐาน ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน สำหรับการทำเหมือง การแต่งแร่ และการประกอบโลหกรรม นายอนุ กัลลประวิทย์ ผู้อำนวยการสำนักบริหารสิ่งแวดล้อม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่

(ร่าง) ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนสำหรับการทำเหมือง การแต่งแร่ และการประกอบโลหกรรม (ตามมาตรา 19 และ 32) หลักการ แบ่งกลุ่มการประกอบการออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ การประกอบการที่ไม่มีผลกระทบ (หรือมีน้อย) ไม่ต้องจัดทำ baseline ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน การประกอบการที่มีผลกระทบปานกลาง ต้องจัดทำ baseline ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน ในประเด็นที่จำเป็น หรือเกี่ยวข้อง (ส่วนใหญ่เป็นโครงการประเภทที่ต้องทำ EIA) การประกอบการที่มีผลกระทบสูง ต้องทำ baseline ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนแบบเต็มรูปแบบ (ส่วนใหญ่เป็นโครงการประเภทที่ต้องทำ EHIA)

ข้อมูลพื้นฐาน (baseline) สิ่งแวดล้อม สุขภาพ ธรณีวิทยา ดิน ตะกอนดิน น้ำผิวดิน น้ำใต้ดิน อากาศ เสียง

ข้อมูลพื้นฐานด้านธรณีวิทยา 1. ธรณีวิทยาทั่วไป พร้อมแผนที่มาตราส่วน 1: 50,000 หรือละเอียดกว่า 2. ธรณีวิทยาแหล่งแร่ พร้อมแผนที่มาตราส่วน 1: 4,000 หรือละเอียดกว่า 3. ข้อมูลคุณภาพและคุณสมบัติของแร่ในแหล่ง พร้อมทั้งเพื่อนแร่ 4. ข้อมูลองค์ประกอบทางเคมีของแร่ เพื่อบ่งชี้โอกาสในการปนเปื้อนของโลหะหนักหรือสารพิษจากการทำเหมือง

ข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องดิน สาระสำคัญ เก็บตัวอย่างดินให้ครอบคลุมชนิดของการจำแนกชุดดิน ไม่น้อยกว่า 10 ตัวอย่าง ที่ความลึก 30-45 เซนติเมตร (ใน 5 + นอก 5) ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง pH โลหะหนัก จำนวน 3 ชนิด ได้แก่ Arsenic, Cadmium, Lead โลหะหนัก จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ Manganese, Chromium, Mercury, Nickel, Selenium สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ จำนวน 9 ชนิด ได้แก่ Atrazine, Chlordane, 2,4-D, DDT, Dieldrin, Heptachlor, Heptachlor epoxide, Lindane, Pentachlorophenol สารอันตราย จำนวน 4 ชนิด ได้แก่ Benzo (a) pyrene, Cyanide, PCBs, Vinyl chloride ความสมบูรณ์ของดิน จำนวน 5 รายการ ได้แก่ Soil Organic Matter, Available Phosphorus, Available Potassium, Cation Exchange Capacity, Base Saturation

ข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องตะกอนดิน สาระสำคัญ สำรวจ/จัดทำข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับจำนวนและตำแหน่งของแหล่งน้ำผิวดินที่อยู่ภายในพื้นที่โครงการและภายนอกโครงการ ในรัศมี 500 เมตร ซึ่งมีแนวโน้มก่อให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องตะกอนดิน ทั้งจากแหล่งน้ำนิ่งและแหล่งน้ำไหล เก็บตัวอย่าง 1 ตัวอย่างต่อ 1 แหล่งน้ำนิ่ง และ 3 ตัวอย่างต่อ 1 แหล่งน้ำไหล ครอบคลุมพื้นที่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ซึ่งสามารถใช้เป็นตัวแทนของตะกอนดินได้ ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง pH โลหะหนัก 3 ชนิด ได้แก่ Arsenic Cadmium Lead โลหะหนัก 5 ชนิด ได้แก่ Manganese, Chromium, Mercury, Nickel, Selenium สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช/สัตว์ 9 ชนิด ได้แก่ Atrazine, Chlordane, 2,4-D, DDT, Dieldrin, Heptachlor Heptachlor epoxide, Lindane, Pentachlorophenol สารอันตราย 4 ชนิด ได้แก่ Benzo (a) pyrene, Cyanide, PCBs, Vinyl chloride

ข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องน้ำผิวดิน สาระสำคัญ สำรวจ/จัดทำข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับจำนวนและตำแหน่งของแหล่งน้ำผิวดินที่มีแนวโน้มก่อให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่อยู่ภายในพื้นที่โครงการและภายนอกโครงการ ในรัศมี 1 กิโลเมตร เก็บตัวอย่าง 1 ตัวอย่างต่อ 1 แหล่งน้ำนิ่ง และ 3 ตัวอย่างต่อ 1 แหล่งน้ำไหล ครอบคลุมพื้นที่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ซึ่งสามารถใช้เป็นตัวแทนของน้ำผิวดินได้ ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง ลักษณะทางกายภาพ/เคมี จำนวน 10 รายการ ได้แก่ temperature, color, pH, turbidity, electrical conductivity, Total Dissolved Solids, Suspended Solids, Total Hardness, BOD, DO โลหะหนัก จำนวน 4 ชนิด ได้แก่ Arsenic, Cadmium, Lead, Manganese โลหะหนัก จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ Chromium Hexavalent, Copper, Total Mercury, Nickel, Zinc สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช/สัตว์ จำนวน 9 ชนิด ได้แก่ Atrazine, Chlordane, 2,4 – D, DDT, Heptachlor, Heptachlor Epoxide, Lindane, Pentachlorophenol, Dieldrin สารอันตราย จำนวน 4 ชนิด ได้แก่ Benzo (a) pyrene, Cyanide, PCBs, Vinyl chloride คุณสมบัติอื่นๆ เพิ่มเติม 4 รายการ ได้แก่ Salinity, Chloride, Sulfide, Sulfate

ข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องน้ำใต้ดิน สาระสำคัญ สำรวจ/จัดทำข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับจำนวนและตำแหน่งของบ่อน้ำใต้ดินหรือบ่อน้ำบาดาลที่อยู่ภายในพื้นที่โครงการและภายนอกโครงการ ในรัศมี 3 กิโลเมตร เก็บตัวอย่างน้ำที่อยู่ชั้นหินอุ้มน้ำไร้แรงดัน ภายในพื้นที่/ภายนอกโครงการในรัศมี 1 กิโลเมตร เก็บตัวอย่างน้ำที่อยู่ชั้นหินอุ้มน้ำมีแรงดัน ภายในพื้นที่/ภายนอกโครงการในรัศมี 3 กิโลเมตร กรณีที่ไม่มีบ่อน้ำใต้ดินหรือบ่อน้ำบาดาลเดิมอยู่ให้เก็บตัวอย่างน้ำจากบ่อสังเกตการณ์ หรือบ่อตรวจสอบคุณภาพน้ำใต้ดิน ภายหลังจากที่ได้รับประทานบัตรแล้ว ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง ลักษณะทางกายภาพ/เคมี จำนวน 7 รายการ ได้แก่ temperature, color, turbidity, pH, electrical conductivity, hardness, salinity โลหะหนัก จำนวน 10 ชนิด ได้แก่ Arsenic, Cadmium, Hexavalent chromium, Copper, Lead, Mercury, Manganese, Nickel, Selenium, Zinc สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช/สัตว์ จำนวน 9 ชนิด ได้แก่ Total Organochlorine Pesticides, DDT, Alpha-BHC, Dieldrin, Aldrin, Phenols, Cyanide, Heptachlor, Heptachlor Epoxide สารอันตรายอื่นๆ จำนวน 4 ชนิด ได้แก่ Benzo (a) pyrene, Cyanide, PCBs, Vinyl chloride

ข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องอากาศ สาระสำคัญ จัดทำข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น ทิศทาง และความเร็วของกระแสลม ครอบคลุมทุกฤดูกาล กำหนดจุดวัดคุณภาพอากาศ 2 จุด พร้อมทั้งตรวจวัด อุณหภูมิ ความชื้น ทิศทางและความเร็วของกระแสลม ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง TSP/PM10 PM2.5 วิเคราะห์ขนาด รูปร่าง และองค์ประกอบทางเคมีของฝุ่นละออง (Particulate Matter) ปริมาณก๊าซ จำนวน 4 รายการ ได้แก่ CO NO2 SO2 O3 ไอตะกั่ว (Pb)

ข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องเสียง สาระสำคัญ กำหนดจุดตรวจวัดระดับเสียงพื้นฐาน/ระดับเสียงขณะไม่มีการรบกวน อย่างน้อย 2 จุด บริเวณขอบพื้นที่ประทานบัตรที่อยู่ใกล้บ้านเรือนของประชาชนที่อยู่ใกล้ที่สุด 1 จุด บริเวณตำแหน่งของบ้านเรือนหรือชุมชนที่อยู่ใกล้ที่สุด อีกไม่น้อยกว่า 1 จุด ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง ระดับเสียงพื้นฐานในสิ่งแวดล้อมขณะที่ยังไม่มีกิจกรรมการทำเหมือง การแต่งแร่ และการประกอบโลหกรรม Percentile Level 90, LA90 ตรวจวัดไม่น้อยกว่า 5 นาที วัดระดับเสียงขณะไม่มีการรบกวน เป็นระดับเสียงเฉลี่ย (Equivalent A-Weighted Sound Pressure Level, LAeq) ในวัน เวลา และตำแหน่งที่คาดว่าจะได้รับการรบกวน ภายหลังมีกิจกรรมการทำเหมือง การแต่งแร่ และการประกอบโลหกรรม

ข้อมูลพื้นฐานด้านสุขภาพของประชาชน 1. ข้อมูลการเฝ้าระวังเชิงรับด้านสุขภาพของประชาชน (Passive Surveillance) 2. ข้อมูลการเฝ้าระวังเชิงรุก (Active Surveillance) 3. ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากรและตำแหน่งบ้านเรือน ในรัศมี ๕ กิโลเมตร รอบพื้นที่ 4. ความเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างข้อมูลการเฝ้าระวังเชิงรับด้านสุขภาพของประชาชน (Passive Surveillance) และข้อมูลการเฝ้าระวังเชิงรุก (Active Surveillance) ในพื้นที่

ข้อมูลพื้นฐานด้านสุขภาพประชาชน (ต่อ) การรวบรวมและศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลการเฝ้าระวังเชิงรับด้านสุขภาพของประชาชน (Passive Surveillance) ในพื้นที่ โดยใช้ข้อมูลการรายงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กระทรวงสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น ข้อมูลพื้นฐานด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ โดยใช้ข้อมูลการจำแนกตามกลุ่มสาเหตุโรค ตามระบบฐานข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข เช่น รายงานผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุ 21 กลุ่มโรค (แบบ รง.504) หรือบัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศฉบับแก้ไขครั้งที่ 10 (International Classification of Diseases and Related Health Problem 10th Revision: ICD-10) เป็นต้น ข้อมูลรายละเอียดของโรคที่สำคัญ โรคประจำถิ่น และโรคที่มีความสัมพันธ์กับการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับพฤติกรรมการอุปโภค บริโภคและความเสี่ยงในการรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ

ข้อมูลพื้นฐานด้านสุขภาพประชาชน (ต่อ) การจัดทำฐานข้อมูลการเฝ้าระวังเชิงรุก (Active Surveillance) ในพื้นที่ โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลตัวอย่างด้านสาธารณสุขจากประชากรกลุ่มตัวอย่าง กำหนดจำนวนประชากรกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการตามหลักสถิติ แบ่งพื้นที่ในการเก็บตัวอย่างออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ในรัศมี 1/3/5 กิโลเมตร โดยในพื้นที่แต่ละส่วนให้มีการเฉลี่ยในเรื่องอายุและเพศของกลุ่มตัวอย่างในสัดส่วนที่เหมาะสม ตรวจสุขภาพทั่วไปและตรวจเอ็กซเรย์ปอด พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลรายละเอียดของประชากรตัวอย่าง เก็บตัวอย่างเลือดและปัสสาวะ เพื่อตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) และวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนัก ได้แก่ As, Mn, Pb, Hg และตรวจการทำงานของไต โดยใช้ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลที่ได้มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลรายละเอียดของประชากรตัวอย่าง

ข้อมูลพื้นฐานด้านสุขภาพประชาชน (ต่อ) การสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากรและตำแหน่งบ้านเรือน ในรัศมี 5 กิโลเมตร รอบพื้นที่ประทานบัตร โดยให้แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ในรัศมี 1/3/5 กิโลเมตร พร้อมทั้งจัดทำแผนที่แสดงรายละเอียดและตำแหน่งที่ตั้ง เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับการตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีเกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและด้านสุขภาพของประชาชนจากการทำเหมือง วิเคราะห์ และแปรผลข้อมูลด้านสุขภาพ/สาธารณสุข โดยหาความเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง Passive Surveillance และ Active Surveillance ในพื้นที่ พร้อมทั้งระบุตำแหน่งบ้านเรือนของประชากรกลุ่มตัวอย่างและจัดทำข้อมูลรายละเอียดด้านสุขภาพของประชาชนให้สอดคล้องกัน

การจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน (ตัวอย่าง) การจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน สำหรับการทำเหมืองแร่ การทำเหมืองประเภทที่ 2 และ 3 กรณีที่ต้องจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน แร่หินอุตสาหกรรม/ แร่อุตสาหกรรม แร่ถ่านหิน แร่โพแทช/ แร่เกลือหิน แร่โลหะทั่วไป แร่ทองคำ/ แร่ตะกั่ว/ แร่สังกะสี/ แร่โลหะที่มีอาร์ซิโนไพไรต์ 1. ข้อมูลพื้นฐานด้านธรณีวิทยา 1.1 ธรณีวิทยาทั่วไป/แผนที่ 1: 50,000  1.2 ธรณีวิทยาแหล่งแร่/แผนที่ 1: 4,000 1.3 คุณภาพของแร่ในแหล่ง/เพื่อนแร่ 1.4 การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของแร่ 

การทำเหมืองประเภทที่ 2 และ 3 กรณีที่ต้องจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน แร่หินอุตสาหกรรม/ แร่อุตสาหกรรม แร่ถ่านหิน แร่โพแทช/ แร่เกลือหิน แร่โลหะทั่วไป แร่ทองคำ/แร่ตะกั่ว/แร่สังกะสี/ แร่โลหะที่มีอาร์ซิโนไพไรต์ 2. ข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องดิน 2.1 เก็บตัวอย่างดิน 10 ตัวอย่าง (ใน 5/นอก 5)  2.2 ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างดิน (1) pH (2) โลหะหนัก 3 ชนิด As, Cd, Pb (3) โลหะหนัก 5 ชนิด Mn, Cr, Hg, Ni, Se  (4) สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ 9 ชนิดAtrazine, Chlordane, 2,4-D, DDT, Dieldrin, Heptachlor, Heptachlor epoxide, Lindane, Pentachlorophenol (5) สารอันตราย 4 ชนิด Benzo (a) pyrene, Cyanide, PCBs, Vinyl chloride (6) ความสมบูรณ์ของดิน 5 รายการ

การทำเหมืองประเภทที่ 2 และ 3 กรณีที่ต้องจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน แร่หินอุตสาหกรรม/ แร่อุตสาหกรรม แร่ถ่านหิน แร่โพแทช/ แร่เกลือหิน แร่โลหะทั่วไป แร่ทองคำ/แร่ตะกั่ว/แร่สังกะสี/ แร่โลหะที่มีอาร์ซิโนไพไรต์ 3. ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องตะกอนดิน 3.1 จำนวนและตำแหน่งของแหล่งน้ำผิวดิน ในรัศมี 500 เมตร   3.2 เก็บตัวอย่าง ทั้งแหล่งน้ำนิ่งและแหล่งน้ำไหล 3.3 ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างตะกอนดิน (1) pH (2) โลหะหนัก 3 ชนิด As, Cd, Pb (3) โลหะหนัก 5 ชนิด Mn, Cr, Hg, Ni, Se (4) สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ 9 ชนิดAtrazine, Chlordane, 2,4-D, DDT, Dieldrin, Heptachlor, Heptachlor epoxide, Lindane, Pentachlorophenol (5) สารอันตราย 4 ชนิด Benzo (a) pyrene, Cyanide, PCBs, Vinyl chloride

การทำเหมืองประเภทที่ 2 และ 3 กรณีที่ต้องจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน แร่หินอุตสาหกรรม/ แร่อุตสาหกรรม แร่ถ่านหิน แร่โพแทช/ แร่เกลือหิน แร่โลหะทั่วไป แร่ทองคำ/แร่ตะกั่ว/แร่สังกะสี/ แร่โลหะที่มีอาร์ซิโนไพไรต์ 4. ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องน้ำผิวดิน 4.1 จำนวนและตำแหน่งของแหล่งน้ำผิวดิน ในรัศมี 1 กิโลเมตร  4.2 เก็บตัวอย่าง ทั้งแหล่งน้ำนิ่งและแหล่งน้ำไหล 4.3 ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำ (1) ลักษณะกายภาพ/เคมีของน้ำ 10 รายการ (2) โลหะหนัก 4 ชนิด As, Cd, Pb, Mn (3) โลหะหนัก 5 ชนิด Cr, Cu, Hg, Ni, Zn  (4) สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช/สัตว์ 9 ชนิด (5) สารอันตราย 4 ชนิด Benzo (a) pyrene, Cyanide, PCBs, Vinyl chloride (6) คุณสมบัติอื่นๆ 4 รายการ Salinity, Chloride, Sulfide, Sulfate

การทำเหมืองประเภทที่ 2 และ 3 กรณีที่ต้องจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน แร่หินอุตสาหกรรม/ แร่อุตสาหกรรม แร่ถ่านหิน แร่โพแทช/ แร่เกลือหิน แร่โลหะทั่วไป แร่ทองคำ/แร่ตะกั่ว/แร่สังกะสี/ แร่โลหะที่มีอาร์ซิโนไพไรต์ 5. ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องน้ำใต้ดิน 5.1 จำนวนและตำแหน่งของบ่อน้ำใต้ดิน/บาดาล ในรัศมี 3 กิโลเมตร   5.2 เก็บตัวอย่างน้ำ โดยแบ่งเป็น 3 กรณี 5.3 ตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำ (1) ลักษณะกายภาพ/เคมีของน้ำ 7 รายการ (2) โลหะหนัก 10 ชนิด As, Cd, Pb, Mn, Cr, Cu, Hg, Ni, Zn, Se (3) สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช/สัตว์ 9 ชนิด (4) สารอันตราย 4 ชนิด Benzo (a) pyrene, Cyanide, PCBs, Vinyl chloride

การทำเหมืองประเภทที่ 2 และ 3 กรณีที่ต้องจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน แร่หินอุตสาหกรรม/ แร่อุตสาหกรรม แร่ถ่านหิน แร่โพแทช/ แร่เกลือหิน แร่โลหะทั่วไป แร่ทองคำ/แร่ตะกั่ว/แร่สังกะสี/ แร่โลหะที่มีอาร์ซิโนไพไรต์ 6. ข้อมูลสิ่งแวดล้อมเรื่องคุณภาพอากาศ 6.1 จัดทำข้อมูลพื้นฐาน เช่น อุณหภูมิ ความชื้น ทิศทาง และความเร็วของกระแสลม  6.2 กำหนดจุดตรวจวัด อย่างน้อย 2 จุด (1) TSP/PM10 (2) PM2.5  (3) วิเคราะห์ขนาด รูปร่าง และองค์ประกอบทางเคมีของฝุ่นละออง (Particulate Matter) (4) ปริมาณก๊าซ จำนวน 4 รายการ ได้แก่ CO NO2 SO2 O3 สำหรับโรงประกอบโลหกรรม (5) ไอตะกั่ว (Pb) สำหรับโรงประกอบโลหกรรม (หลอมตะกั่ว)

การทำเหมืองประเภทที่ 2 และ 3 กรณีที่ต้องจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน แร่หินอุตสาหกรรม/ แร่อุตสาหกรรม แร่ถ่านหิน แร่โพแทช/ แร่เกลือหิน แร่โลหะทั่วไป แร่ทองคำ/แร่ตะกั่ว/แร่สังกะสี/ แร่โลหะที่มีอาร์ซิโนไพไรต์ 7. ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมเรื่องเสียง 7.1 กำหนดจุดตรวจวัดระดับเสียงพื้นฐาน/ระดับเสียงขณะไม่มีการรบกวน อย่างน้อย 2 จุด  7.2 ตรวจวัดเสียง (1) ระดับเสียงพื้นฐานในสิ่งแวดล้อมขณะที่ยังไม่มีกิจกรรมการทำเหมือง (2) วัดระดับเสียงขณะไม่มีการรบกวน เป็นระดับเสียงเฉลี่ย

การทำเหมืองประเภทที่ 2 และ 3 กรณีที่ต้องจัดทำข้อมูลพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน แร่หินอุตสาหกรรม/ แร่อุตสาหกรรม แร่ถ่านหิน แร่โพแทช/ แร่เกลือหิน แร่โลหะทั่วไป แร่ทองคำ/แร่ตะกั่ว/แร่สังกะสี/ แร่โลหะที่มีอาร์ซิโนไพไรต์ 9. ข้อมูลพื้นฐานด้านสุขภาพของประชาชน 9.1 ข้อมูลการเฝ้าระวังเชิงรับด้านสุขภาพของประชาชน (Passive Surveillance)  9.2 ข้อมูลการเฝ้าระวังเชิงรุก (Active Surveillance) ตรวจสุขภาพทั่วไป/เอ็กซเรย์ปอด  เก็บตัวอย่างเลือด/ปัสสาวะ เพื่อตรวจ CBC และวิเคราะห์หา As, Mn, Pb, Hg และตรวจการทำงานของไต 9.3 ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากรและตำแหน่งบ้านเรือน ในรัศมี ๕ กิโลเมตร รอบพื้นที่ 9.4 ความเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง Passive/Active Surveillance ในพื้นที่

Thank you for your attention สำนักบริหารสิ่งแวดล้อม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ โทรศัพท์: 02 202 3682 โทรสาร: 02 644 8762 http://www10.dpim.go.th/publichearing/