องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เสนอ อ.สุพิน ดิษฐสกุล.
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
ชื่อ นาย ศุภสุข โตฟาเละ รหัส 00352
Entity-Relationship Model E-R Model
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
5 Nov 2014 Metabolism of Amino Acids II
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
โครเมี่ยม (Cr).
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
การจำลองตัวเองของ DNA (DNA replication)
เคมีในอาหาร 1.
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การบริหารโครงการ Project Management
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
โครงสร้างภาษา C Arduino
ระบบโครงข่ายโทรศัพท์
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
ครูปฏิการ นาครอด.
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ ชื่อบริษัท : ชื่อในทางการค้า : (ไทย) (อังกฤษ)
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) บทที่ 10 สารชีวโมเลกุล (Biomolecules)
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ด้วยความห่วงใยจากฝ่ายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
Alkyne และ Cycloalkyne
Ernest Rutherford.
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ระบบย่อยอาหาร.
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Tree.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ชีวโมเลกุล.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เอนไซม์และตัวยับยั้งเอนไซม์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน สารประกอบโปรตีน ธาตุหลักที่เป็นองค์ประกอบ  ธาตุหลัก C H O N นอกจากนี้อาจมี S , P , Fe ก็ได้ ขึ้นกับชนิดโปรตีน องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน องค์ประกอบของโปรตีน คือ กรดอะมิโน (Amino acid) ซึ่งมีสูตรทั่วไปเป็นดังนี้ NH2 O C OH H R หมู่ Carboxyl ซึ่งพบในกรดไขมันด้วย หมู่อะมิโน หมู่ไฮโดรคาร์บอน

ประเภทของกรดอะมิโน 1. กรดอะมิโนที่จำเป็น (Essential amino acid) คือ กรดอะมิโนที่ร่างกายสร้างไม่ได้ แต่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและการพัฒนาของสมอง ขาดไม่ได้ จึงต้องบริโภคเข้าไป พบใน - เนื้อ นม ไข่ เครื่องในสัตว์ (โปรตีนสมบูรณ์) กรดอะมิโนที่จำเป็นมี 8-9 ชนิด คือ Histidine, Isoleucine, Leucine, Lysine, Methionine, Phenylalanine, Threonine, Tryptophane และ Valine Histidnes เป็นกรดอะมิโนจำเป็นเฉพาะในวัยเด็ก

2. กรดอะมิโนที่ไม่จำเป็น (Nonessential amino acid)  เป็นกรดอะมิโนที่ร่างกายสร้างได้เพียงพอไม่ต้องกินเข้าไป ได้แก่ Alanine, Arginine, Asparagine, Aspartic acid, Cysteine, Glutamic acid, Glutamine, Glycine, proline, Serine, Thyrosine  อาหารที่มีกรดอะมิโนชนิดจำเป็นครบถ้วนและมีคุณค่าโปรตีนสูง จัดเป็นโปรตีนสมบูรณ์ (complete protein) ได้แก่ ถั่วเหลือง เนื้อสัตว์ นมสด ไข่ และ เครื่องในสัตว์

โครงสร้างโมเลกุลของโปรตีน กรดอะมิโนชนิดต่างๆ จะมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเปปไทด์ (Peptide bone) โดย - ถ้ากรดอะมิโน 2 โมเลกุล มาเชื่อมต่อกันจะได้เป็น Dipeptide - ถ้ากรดอะมิโน 3 โมเลกุล เชื่อมต่อกันเรียก Tripeptide - ถ้ากรดอะมิโนมากมาย เช่น 100 โมเลกุลขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาวเรียกว่า Polypeptide โดย Polypeptide 1 สายหรือมากกว่า 1 สาย จะกลายเป็นโมเลกุลโปรตีน 1 โมเลกุล

Condensation (water removed) PROTEIN การยึดเหนี่ยวกันระหว่างสายพอลีเพปไทด์ การสลายตัวของพันธะยึดเหนี่ยวกันระหว่างสายพอลีเพปไทด์ H R H R H R H R H N C CO N C CO N C CO N C CO OH H H H H POLYPEPTIDE การสร้างโปรตีน Further condensation Hydrolysis การย่อยโปรตีน H R H R H N C CO N C CO OH H H PEPTIDE LINK DIPEPTIDE Condensation (water removed) Hydrolysis (water added) H R H R H N C CO OH H N C CO OH H H H2O AMINO ACID AMINO ACID แผนภาพแสดงการรวมตัวของกรดอะมิโนไปเป็นโปรตีน และการย่อยโปรตีนมาเป็นกรดอะมิโน

ข้อควรทราบพิเศษ โมเลกุลโปรตีนทุกชนิดจะขึ้นด้วยหมู่อะมิโน (-NH2) เรียก N-terminal และสิ้นสุดด้วยหมู่คาร์บอกซิล (-COOH) เรียก C-terminal เสมอ

การจัดโครงสร้างโมเลกุลของโปรตีน (Organization of protein molecule) โปรตีนเป็นสารอินทรีย์ที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่และมีมากมายหลายชนิด ความซับซ้อนและการจัดโครงสร้างของโมเลกุล จึงมีหลายระดับ ได้แก่ 1. โครงสร้างปฐมภูมิ (Primary structure)  โครงสร้างปฐมภูมิของโปรตีนเกิดจากการจัดเรียงตัวของกรดอะมิโนเป็นสายของพอลิเพปไทด์  บางช่วงมีปฏิกิริยาระหว่างแต่ละส่วนของโมเลกุล เช่น การเกิดพันธะไดซัลไฟด์ (Disulfide bridge) ระหว่าง กรดอะมิโนซิสเตอีน (Cysteine) ซึ่งเป็นพื้นฐานในการกำหนดโครงสร้าง 3 มิติของโมเลกุลโปรตีน  ตัวอย่างเช่น โปรตีนอินซูลิน

2. โครงสร้างทุติยภูมิ (Secondary structure)  โครงสร้างทุติยภูมิของโปรตีนเกิดจากการจัดเรียงตัวของสาย พอลิเพปไทด์ ซึ่งตามปกติศึกษาได้โดยเทคนิค X-Ray crystallography  การจัดโครงสร้างของโมเลกุลเกิดจากการมีพันธะไฮโดรเจน (H-bond) ระหว่างกรดอะมิโนในสายพอลิเพปไทด์เดียวกัน หรือต่างสายกัน  ทำให้ยืดหยุ่นไฟได้ดีและทำให้รูปร่างโมเลกุลมีลักษณะเป็น เกลียว (Spiral shape) เรียก เกลียวแอลฟา (-Helix) เช่น ที่พบในไอซินและโปรตีนเคอราติน (Keratin) ในเส้นผม

 พันธะไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น มักเกิดจากแรงดึงดูดของอะตอมไฮโดรเจนจากหมู่อะมิโนของกรดอะมิโนหนึ่ง (N–H) กับอะตอมออกซิเจนของหมู่คาร์บอกซิลของกรดอะมิโนอีกตัวหนึ่ง (C=O)  การเกิดพันธะไฮโดรเจนหลายๆ แห่งในโมเลกุลจะช่วยให้โครงสร้างเป็นลักษณะเกลียวแอลฟาคงตัว โดยเฉพาะในโปรตีนที่เป็นสายใย (Fibrous protein) จะบิดเกลียวคล้ายเกลียวเชือก ยิ่งทำให้โมเลกุลมีความคงตัวมากยิ่งขึ้น  โครงสร้างโมเลกุลทุติยภูมิ อาจเกิดในลักษณะยืดยาวและวางขนานกัน โดยมีพันธะไฮโดรเจนยึดระหว่างสาย  เกิดเป็นโครงสร้างโมเลกุลที่มีลักษณะเป็นแผ่นจีบเรียก -pleated sheet เช่น พบในโปรตีนไฟโบรอิน (fibroin) ในเส้นไหม  การจัดเรียงโมเลกุลแบบนี้มีการยืดหยุ่นดีแต่ไม่ทนทานต่อแรงดึง

3. โครงสร้างตติยภูมิ (Tertiary structure)  โครงสร้างตติยภูมิของโปรตีนเกิดจากากรขดเป็นเกลียว หลายตำแหน่งของโครงสร้างทุติยภูมิ และบางช่วงพับม้วน มีลักษณะเป็นก้อน เนื่องจากแรงดึงดูดหรือผลักกันระหว่างประจุจากหมู่ R(R-group) ของกรดอะมิโนในสายพอลิเพปไทด์  โปรตีนที่มีโครงสร้างแบบนี้ได้แก่ เอนไซม์ และไมโอโกลบิน (Myoglobin) ซึ่งเป็นตัวนำออกซิเจนในกล้ามเนื้อของสัตว์มีกระดูกสันหลัง  โครงสร้างตติยภูมิที่มีโครงสร้างเป็นเกลียวและม้วนตัวคง สภาพอยู่ได้ เนื่องจากแรงดึงดูดที่เกิดขึ้นในโมเลกุลซึ่งมีพันธะไฮโดรเจน พันธะไดซัลไฟด์ และแรงแวนเดอร์ วาล (Wan der waals)

4. โครงสร้างจตุรภูมิ (Quaternery structure)  โครงสร้างโมเลกุลลักษณะนี้เกิดจากพอลิเพปไทด์ 2 สาย หรือมากกว่า รวมตัวกันเป็นโปรตีนโมเลกุลขนาดใหญ่หรือมี ลักษณะเป็นก้อน  เช่น ฮีโมโกลบิน (Haemoglobin) ประกอบด้วย พอลิเพปไทด์ 4 สาย คือ - chains และ -chains อย่างละ 2 สาย

โครงสร้างโมเลกุลโปรตีน (a) โครงสร้างปฐมภูมิของโปรตีนอินซูลิน (b) (c) (d) โครงสร้างทุติยภูมิของโปรตีน